ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

ผลงานวิจัยยอดนิยม 20 อันดับ

# ชื่อเรื่อง
1

การพัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้ด้านบัญชีของพนักงานสหกรณ์ในจังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :อาจารย์ กิรณา ยี่สุ่นแซม

คณะ :คณะวิทยาการจัดการ

ปีที่ได้รับทุน :2564

2

ภูมิศาสตร์ภาษาไทขึนในจังหวัดเชียงใหม่ : ความรู้พื้นฐานเพื่อการพัฒนาท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์

นักวิจัย :อาจารย์ ฑัตจยศพล ธนธุวานันท์

คณะ :คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ปีที่ได้รับทุน :2564

3

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามศาสตร์พระราชาของโรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

นักวิจัย :อาจารย์ รินทร์ลภัส ศิรินพวัฒน์

คณะ :วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน

ปีที่ได้รับทุน :2564

4

อันดับบางส่วนธรรมชาติบนกึ่งกรุปการแปลงแบร์-เลวี

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บูรพา สิงหา

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2564

5

การสังเคราะห์และวิเคราะห์วัสดุชีวภาพนาโนเกรนที่มีไฮดรอกซีอะพาไทต์เป็นองค์ประกอบหลัก

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนิรุทธิ์ รักสุจริต

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2564

6

การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการบริการนักศึกษาเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

นักวิจัย :นาย สมเด็จ ภิมายกุล

คณะ :คณะครุศาสตร์

ปีที่ได้รับทุน :2564

7

กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในช่วงวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาของผู้ประกอบการธุรกิจในจังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :อาจารย์ ภีมภณ มณีธร

คณะ :คณะวิทยาการจัดการ

ปีที่ได้รับทุน :2564

8

การเตรียมผงผลึกเฟร์โรแมกเนทริกที่มีขนาดเล็กของ Y2.7Bi0.3Fe4.7Mn0.3O12 ที่มีประสิทธิภาพสูง ด้วยวิธีการเผาไหม้ของแข็ง

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิตรกร กรพรม

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2564

9

การใช้เทคนิคการวิเคราะห์วิดีโออัตราเร็วสูงศึกษาการเคลื่อนที่ของเพนดูลัมวงแหวนเพื่อพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูฟิสิกส์

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราภรณ์ ปุณยวัจน์พรกุล

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2564

10

การพัฒนาสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงสำหรับการสอนปฏิบัติการรายวิชา PHYS1115 ฟิสิกส์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

นักวิจัย : กมลพรรณ เมืองมา

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2564

11

การพัฒนากิจกรรมการเสริมแรงทางบวกเพื่อพัฒนาความสนใจในการทำกิจกรรมของเด็กที่มี ความต้องการพิเศษ: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนามนุษย์และบุคคลที่มีความพิการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

นักวิจัย :อาจารย์ อทิตยา ใจเตี้ย

คณะ :คณะครุศาสตร์

ปีที่ได้รับทุน :2564

12

การใช้โปรแกรมบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารในเด็กออทิสติก

นักวิจัย :นางสาว ธัญนันท์ เตชะจักร์วงศ์

คณะ :ศูนย์พัฒนามนุษย์และบุคคลที่มีความพิการ

ปีที่ได้รับทุน :2564

13

การยกระดับผลิตภัณฑ์กาแฟและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการแข่งขันระดับสากล

นักวิจัย :อาจารย์ ดร. วินยาภรณ์ พราหมณโชติ

คณะ :คณะวิทยาการจัดการ

ปีที่ได้รับทุน :2563

14

การศึกษาโครงสร้างอะตอมและการเปลี่ยนโครงสร้างเฟสเชิงลึกที่มีต่อสมบัติไพอิโซอิเล็กทริกของเซรามิก (1-x)BNT-xBCTS ด้วยใช้แสงซินโครตรอนและเทคนิครามานสเปกโตรสโคปี

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิตรกร กรพรม

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2563

15

แนวทางการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮ่องสอน

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สัตโยภาส

คณะ :คณะวิทยาการจัดการ

ปีที่ได้รับทุน :2563

16

ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตผักเชียงดา ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :อาจารย์ รัชนี เสาร์แก้ว

คณะ :คณะวิทยาการจัดการ

ปีที่ได้รับทุน :2563

17

การพัฒนาแนวคิดวิทยาศาสตร์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์วิดีโอความเร็วสูง : กรณีศึกษาผลของแรงต้านอากาศต่อการตกของกรวยกระดาษ

นักวิจัย :ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิราภรณ์ ปุณยวัจน์พรกุล

คณะ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปีที่ได้รับทุน :2563

18

การวิเคราะห์ศักยภาพด้านการตลาดและการผลิตผักอินทรีย์ของกลุ่มรวมใจพอเพียงบ้านช่อแล ตำบลช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :อาจารย์ เพียงตะวัน พลอาจ

คณะ :คณะวิทยาการจัดการ

ปีที่ได้รับทุน :2563

19

การศึกษาลักษณะทางพืชไร่ ศักยภาพการให้ ผลผลิต และคุณภาพข้าวสาลีพันธุ์ดีเด่น

นักวิจัย :อาจารย์ ดร. สายบัว เข็มเพ๊ชร

คณะ :คณะเทคโนโลยีการเกษตร

ปีที่ได้รับทุน :2563

20

ผลการใช้ EDPROT MODEL ในการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู

นักวิจัย :อาจารย์ ดร. ประพิณ ขอดแก้ว

คณะ :คณะครุศาสตร์

ปีที่ได้รับทุน :2563

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่