
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การวิจัยเพื่อพัฒนาและต่อยอดสินค้าเกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหารปลอดภัยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปีที่ ๒
อาจารย์ ดร.ทัศนีย์ อารมณ์เกลี้ยง
คณะครุศาสตร์
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
1032-61-EDU-NRCT
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาและต่อยอดสินค้าเกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหาร ปลอดภัยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและสนับสนุนด้วยการ วิเคราะห์เชิงปริมาณจากข้อมูลปฐมภูมิของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการด้วยความสมัครใจผ่าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 4 กลุ่มเกษตรกร ที่มีศักยภาพด้านการพัฒนาและต่อยอด สินค้าเกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหารปลอดภัย โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ในประเด็น “การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP)” และ “การจัดทา ระบบควบคุมภายใน (Internal Control System : ICS)” จากนั้น วิเคราะห์เชิงคุณภาพศักยภาพด้วยการวิเคระห์ SWOT analysis อภิปรายผลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือค่าเฉลี่ยร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญของจังหวัดเชียงใหม่สามารถ ยกระดับศักยภาพสู่ระบบอาหารปลอดภัยได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.84 โดยเป็นการเพิ่มศักยภาพในด้าน การจัดการทา ระบบควบคุมภายใน (ICS) เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.29 ส่วนการเพิ่มศักยภาพในด้านการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(GAP) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.38 และมีแนวทางในการพัฒนาต่อยอดสินค้า เกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหารปลอดภัยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน ASEAN GAP เพื่อการเชื่อมประสานมาตรฐานภายในกลุ่มอาเซียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน GAP และใช้ระบบควบคุมภายใน (ICS) เป็ นเครื่องมือในการขยายผลผลิตทางการเกษตรซึ่ง สามารถทา ให้เกษตรกรได้ผลกา ไรที่สูงกว่าในท้องตลาดโดยทั่วไปหากเกษตรกรสามารถควบคุม ระบบภายในได้ดี คาสาคัญ : ระบบอาหารปลอดภัย สินค้าเกษตร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Abstract
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาและต่อยอดสินค้าเกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหาร ปลอดภัยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและสนับสนุนด้วยการ วิเคราะห์เชิงปริมาณจากข้อมูลปฐมภูมิของกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการด้วยความสมัครใจผ่าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 4 กลุ่มเกษตรกร ที่มีศักยภาพด้านการพัฒนาและต่อยอด สินค้าเกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหารปลอดภัย โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ในประเด็น “การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP)” และ “การจัดทา ระบบควบคุมภายใน (Internal Control System : ICS)” จากนั้น วิเคราะห์เชิงคุณภาพศักยภาพด้วยการวิเคระห์ SWOT analysis อภิปรายผลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือค่าเฉลี่ยร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญของจังหวัดเชียงใหม่สามารถ ยกระดับศักยภาพสู่ระบบอาหารปลอดภัยได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.84 โดยเป็นการเพิ่มศักยภาพในด้าน การจัดการทา ระบบควบคุมภายใน (ICS) เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.29 ส่วนการเพิ่มศักยภาพในด้านการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(GAP) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.38 และมีแนวทางในการพัฒนาต่อยอดสินค้า เกษตรในชุมชนสู่ระบบอาหารปลอดภัยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน ASEAN GAP เพื่อการเชื่อมประสานมาตรฐานภายในกลุ่มอาเซียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน GAP และใช้ระบบควบคุมภายใน (ICS) เป็ นเครื่องมือในการขยายผลผลิตทางการเกษตรซึ่ง สามารถทา ให้เกษตรกรได้ผลกา ไรที่สูงกว่าในท้องตลาดโดยทั่วไปหากเกษตรกรสามารถควบคุม ระบบภายในได้ดี คาสาคัญ : ระบบอาหารปลอดภัย สินค้าเกษตร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลการตีพิมพ์
ชื่อบทความ :
แหล่งที่ตีพิมพ์ :วารสารเกษตรพระวรุณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร ฉบับ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถุนายน 2562
ปีที่ตีพิมพ์ :2562
701 26 เม.ย. 2562

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445