
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การส่งเสริมภาคการเกษตรขององค์กรภาครัฐในชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ในภาคประชาคมอาเซียน ปีที่ 3
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยรัตน์ นทีประสิทธิพร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
1076-62-HUSO-NRCT
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “การส่งเสริมภาคการเกษตรของรัฐในชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ปีที่ 3” มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหน้าที่ของ อปท. ในการส่งเสริมภาคการเกษตรในชุมชน และปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลเชิงนโยบายในการเป็นแนวทางในการส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของ อปท. ในการพัฒนาด้านการเกษตรเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนข้อค้นพบมีดังนี้คือ 1) ปัจจัยเอื้อและ ปัจจัยเสริมในการบริหารโครงการด้านการเกษตรของ อปท. ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่อยู่ในระดับมากคือ ด้านสังคมได้แก่ สภาพทางสังคมโดยรวมที่เป็นสังคมเกษตรกรรม ไม่ได้เป็นสังคมเมือง การท างาน ของ อปท. ที่สอดคล้องกับสภาพสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน การมีส่วนร่วมของกลุ่มเกษตรกรใน ชุมชน และ เกษตรกรในชุมชนมีความพร้อมในการรับหรือด าเนินกิจกรรมที่แตกต่าง และอีกด้านที่ อยู่ในอันดับมากคือด้านการเมือง ได้แก่ ภาวะผู้น าของผู้บริหารจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ยุทธศาสตร์และนโยบายที่มีความชัดเจนสอดคล้องกับพื้นที่/ท้องถิ่น และ ความมีเสถียรภาพทาง การเมืองในทุกระดับ 2) ปัญหาในการท าโครงการในบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการส่งเสริมภาคการเกษตรชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยระดับของ ปัญหาในการด าเนินโครงการมีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด คือ การวางแผน ได้แก่ การก าหนดความเป็นไป ได้ในการจัดท าโครงการ การก าหนดกิจกรรมในแต่ละโครงการ การจัดสรรงบประมาณในตัวโครงการ ซึ่งสรุปได้ว่า ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจมีอิทธิพลต่อปัญหาในการวางแผนและการด าเนินโครงการ เช่น เมื่องบประมาณที่ได้รับมาจ านวนมากท าให้มีปัญหาการวางแผนและการด าเนินโครงการยากมากขึ้น เนื่องจากมีงบประมาณแต่ขาดผู้ปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมของชุมชน ปัจจัยทางด้านสังคมมีอิทธิพลต่อปัญหาในการก าหนดโครงการ ซึ่งบทบาทหน้าที่ของ อปท. ที่ท าในปัจจุบันและได้ระดับความคิดเห็นของการสนับสนุนของ อปท. เฉลี่ยสูงที่สุด คือ ข้อมูล ข่าวสาร ได้แก่ มีการจัดอบรมให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรอย่างถูกต้อง เช่น การใช้ปุ๋ย วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ เกษตรปลอดภัย อันตรายจากการใช้สารเคมี การป้องกันภัยทางการเกษตร เป็นต้น ดังนั้นการส่งเสริมภาคการเกษตรของรัฐในชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ควรจะส่งเสริมและสนับสนุน องค์กรที่พร้อมโดยมีลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรม และที่ส าคัญผู้น า และนโยบายทางการเมืองเป็น ปัจจัยส าคัญในการสนับสนุน ซึ่งจะเป็นตัวก าหนดนโยบายในท้องถิ่น บทบาทหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และ งบประมาณที่จัดสรร
Abstract
The research entitled “Promoting the agriculture of Chiang Mai local community in ASEAN community Phase 3” was conduced in mixed methods research. Local administrative organizations (LAO) in Chiang Mai with 20 percent of agricultural area were samples collected by specific sampling method. Questionnaires were distributed to survey LAO and primary data was obtained from the LAO websites. The return questionnaire was a total of 59 respondents (73.75%). The two sets of questionnaires were the first set about role, contributing factors and supplementary factors of LAO in the management of agricultural projects in promoting the agricultural sector in Chiang Mai and the second set about record form of focus group activity acquired from LAO participated in promoting and troubles in the agricultural projects. This research aims to study the role of LAO to promote the agricultural sector in the community and the obstacle issues that arise form a policy to guide and promote the role of LAO. In the development of agriculture to enter the ASEAN community, the findings are as follows: 1) contributing factors and supplementary factor to agricultural project in Chiang Mai, the social aspect was identified in high level, including social condition as agricultural society and not a city society, LAO’ authority consistent with the social and cultural conditions of the community and the participation of farmers in communities The famers are ready to accept or carry out different activities. The high impact factor was political including the political leadership of central and regional executives, strategic and clear policy consistent with areas, and political stability in every level. Regarding issues in the role of LAO to promote the agricultural sector in Chiang Mai to enter the ASEAN community, the highest average score of the obstacle was planning, including determining the feasibility of the project, assigning activities in each project, and allocating budget in the project. The conclusion was that economic factor influenced the obstacle of planning and implementation of the project such as when a large amount of the budget had been allocated leading to possible difficulties in planning and implementation due to lack of officers and community involvement. Social factor influencing the obstacle in defining project, where the highest average satisfaction in the current role LAO was information about the training of agricultural knowledge, e.g. the use of fertilizers, materials, etc., safe agriculture, chemical hazards, and agricultural disaster prevention etc. Therefore, promoting agricultural sector in Chiang Mai should promote and support the agricultural society. Leaders and policies are important factors in the local policy support, which determines the role and duty of officers, and budget allocation.
ไฟล์งานวิจัย
2. AEC กิตติกรรมประกาศ 62_OKRD.pdf
5. AEC บทที่ 1 บทนำ 62_OKRD.pdf
6. AEC บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 62_OKRD.pdf
7. AEC บทที่ 3 เล่มส่งเสริม 62_OKRD.pdf
10. AEC บทที่ 6 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 62_OKRD.pdf
11. AEC บรรณานุกรม 62_OKRD.pdf
13. AEC ประวัตินักวิจัย 62_OKRD.pdf
ข้อมูลการตีพิมพ์
ชื่อบทความ :
แหล่งที่ตีพิมพ์ :วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2563
ปีที่ตีพิมพ์ :2563
166 18 ธ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445