ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การพัฒนากลุ่มธุรกิจเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปีที่ 3


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลทิพย์ คำใจ

คณะวิทยาการจัดการ

เลขทะเบียน :

1077-62-MGT-NRCT

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงบริบทและรูปแบบการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ของกลุ่มเกษตรกรที่มีศักยภาพ 9 กลุ่ม โดยใช้การวิเคราะห์ และการสร้างความรู้ในการด าเนินงาน ของกลุ่มธุรกิจเกษตรเพื่อเป็นแนวทางของการพัฒนากลุ่มธุรกิจเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ให้มีความ มั่นคงพอเพียงและแข่งขันได้ อาศัยวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (PAR) วิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวก และเชิงลบ ข้อเสนอแนะ และแนวทางเตรียมความพร้อมของกลุ่มธุรกิจชุมชน กรณีวิเคราะห์เชิง ปริมาณจะอภิปรายผลด้วยสถิติอย่างง่าย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน กรณี วิเคราะห์เชิงคุณภาพจะใช้การวิเคราะห์เนื้อหามาประมวลเพื่อยืนยันหรือเสริมข้อมูลเชิงปริมาณให้มี ความสมบูรณ์ขึ้น ผลการวิจัยพบว่าลักษณะและรูปแบบการท าการเกษตรที่เหมาะสม มีลักษณะที่เอื้อ ต่อสภาพแวดล้อมเป็นความส าคัญควบคู่กับระบบธุรกิจที่มีตลาดมารองรับผลผลิต ส่วนด้านที่ยังเป็น ประเด็นปัญหาและข้อจ ากัดของรูปแบบการท าธุรกิจการเกษตรของชุมชน ในระดับมาก คือ ด้านการตลาด และในระดับปานกลาง คือ ด้านภาระหนี้สินและการวางแผนการผลิต รูปแบบธุรกิจ การเกษตรที่จะมารองรับผลผลิตของเกษตรกรและสร้างความยั่งยืนให้กับพื้นที่เพื่อปรับเปลี่ยน ไปสู่พืชหรือระบบการเกษตรที่รักษาสิ่งแวดล้อมได้พัฒนาจากรูปแบบธุรกิจการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่รูปแบบวิสาหกิจชุมชนรูปแบบเกษตรเครือข่าย และรูปแบบกิจการเพื่อชุมชน (Socialenterprise) ที่เกษตรกรเน้นการวางแผนให้เชื่อมโยงกับตลาดปลายทางโดยตรงเพื่อลด ขั้นตอนและลดต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการขายผ่านพ่อค้าคนกลาง หรือการขายผลผลิตในตลาด ที่ต้องการสินค้าคุณภาพสูง ค แนวทางในการพัฒนากลุ่มธุรกิจการเกษตรสู่ระบบธุรกิจเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า เกษตรด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพบว่าการพัฒนาและส่งเสริมกลุ่มเกษตรตามลักษณะ ของการด าเนินงานธุรกิจการเกษตร ด้วยปัจจัยพื้นฐาน 9 ประเด็น คือ พืชที่ปลูก ลักษณะการขาย การตกลงราคา การประกันคุณภาพ การกระจายความเสี่ยง การสร้างอ านาจต่อรอง การลดต้นทุน การจัดการสิ่งแวดล้อม และการจัดการความรู้ สามารถน าไปสรุปเป็นแนวทางการพัฒนากลุ่มธุรกิจ การเกษตร ใน 3 ระดับ คือ 1) ขั้นความพอเพียง ด้วยการวางแผนการผลิตให้เหมาะสม กับความต้องการในการบริโภคและการตลาดที่เข้าถึงได้2) การรวมกลุ่มเพื่อ สร้างแนวทางที่เข้มแข็ง ในการสร้างหลักประกันคุณภาพสินค้าเกษตร เพื่อเป้าหมายที่การสร้างอ านาจในการต่อรอง 3) การสร้างเครือข่าย การให้ความส าคัญกับการผลิตเพื่อให้เพียงพอกับการบริโภคในครัวเรือน และแลกเปลี่ยนในชุมชนเป็นหลักก่อนที่จะขายหรือส่งผลผลิตที่เหลือเข้าสู่ตลาด 

Abstract

This research has the aim as to study the context and the agriculture’s operation formatof 9 potentialgroups by using the analysis and create the operation knowledge. These will be the guideline for Chiangmai’s agricultural development group to be the sustainable and competitive with others. The tools were PAR research, positive and negative effect analysis, recommendation, and the community’s readiness preparation guideline. Thequantitative analysis using mean, percentage, and standard deviation. The qualitative analysis using content analysis to confirm the quantitative data to be more completed. The result had found that the suitable agriculture format and feature was one which merge both of the environment and marketing supported system. The problem and threat were in marketing part which was in high level. On the other side in moderate level were debt and production planning. The agriculture format that will be the sustainable from the original werecommunity enterprise, network agriculture, and social enterprise. These should emphasize the connective planning directly with the terminus market as to decrease the processes and cost form the middle man or in the high quality product market. The guideline to be value added by using sustainable theory for the agricultural development group had found 9 basic factors as planting, selling, negotiating, quality assurance, risk spreading, negotiation power, cost decreasing, environment managing, and knowledge management. These will be summarized in 3 levels as 1) sufficient level by using suitable planning production, consumer demand, and accessing market 2) merging group, not only to be the guideline for the agriculture product assurance, but also the negotiation power 3) creating the จ network by emphasizing in theconsumer production and community exchange before spreading to the market 

ไฟล์งานวิจัย

1. AEC 5 ปก 62.pdf

2. AEC 5 กิตติกรรม ประกาศ 62.pdf

3. AEC 5 บทคัดย่อ 62.pdf

4. AEC 5 สารบัญ-61.pdf

5. บทที่-1.pdf

6. บทที่-2.pdf

7. บทที่-3.pdf

8. บทที่-4.pdf

9. บทที่-5.pdf

10. บทที่ 6.pdf

11.AEC 5 บรรณานุกรม.pdf

12. AEC 5 ภาคผนวก 62.pdf

13.AEC ประวัตินักวิจัย.pdf

122 13 ธ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่