
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ให้มีศักยภาพ การแข่งขันในอาเซียน ปีที่ 3
อาจารย์เบญจมาศ สันต์สวัสดิ์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
1079-62-AGRI-NRCT
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในชุมชนจังหวัด เชียงใหม่ ให้มีศักยภาพการแข่งขันในอาเซียน โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณจากการ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของกลุ่มเกษตรกรตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เกษตรอินทรีย์ เล่ม 1 : การ ผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจ าหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ (มกษ. 9000 เล่ม 1 – 2552) และข้อก าหนด เกษตรอินทรีย์ เล่ม 4 : ข้าวอินทรีย์ (มกษ. 9000 เล่ม 4–2553) จ านวน 9 ต าบล 10 กลุ่มเกษตรกร ที่มีศักยภาพด้านการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า มีจ านวน 7 กลุ่ม คือ 1) เกษตรกรผู้ปลูกล าไยบ้านเป้า ต าบลบ้านเป้า อ าเภอแม่แตง 2) เกษตรกรผู้ปลูกเสาวรสอินทรีย์ ต าบลบ้านหลวง อ าเภอแม่อาย 3) เกษตรกร เสาวรสอินทรีย์ต าบลบ้านปง อ าเภอหางดง 4) กลุ่มเกษตรกรปลูกข้าวอินทรีย์ ต าบลบ้านแม อ าเภอ สันป่าตอง 5) เกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ ต าบลห้วยทราย อ าเภอแม่ริม 6) กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว อินทรีย์ ต าบลน้ าแพร่พัฒนา อ าเภอหางดง และ7) กลุ่มเกษตรกรปู่หมื่น ต าบลบ้านหลวง อ าเภอแม่ อาย พบความสอดคล้องหรือเป็นไปตามข้อก าหนด มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ สามารถยื่นขอรับการ รับรอง มาตรฐานแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ได้ กับหน่วยรับรองกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ แต่อาจจะต้องปรับปรุงเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จก่อนการยื่นขอการรับรองมาตรฐานในเรื่อง 1) แนวกันชนระหว่างแปลงล าไยอินทรีย์ กับ คอกปศุสัตว์และมีบันทึกการเลี้ยงปศุสัตว์ 2) ร่อง ระบายน้ าเสียจากห้องครัวและห้องน้ า 3) สถานที่จัดเก็บวัสดุ และอุปกรณ์การเกษตรให้เป็น หมวดหมู่พร้อมทั้งมีป้ายชี้บ่ง 4) ควรได้รับการอบรม การปฏิบัติที่ดีส าหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้ สด (GMP) 5) ห้ามเผาอินทรีย์วัตถุในแปลงล าไยอินทรีย์ 6) การใช้ผลิตภัณฑ์อินทรีย์และ/หรือ จุลินทรีย์เพื่อการเกษตรจากภายนอก ต้องมีหนังสือรับรองNon GMO และ/หรือใบรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ และ 7) การบันทึกข้อมูลตามแบบฟอร์ม (ไม่ครบถ้วน) ส าหรับกลุ่มเกษตรกร อีก 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มเกษตรกรล าไยจัมโบ้ ต าบลชมภู อ าเภอสารภี 2) เกษตรกรผู้ปลูกหอมหัวใหญ่ ค ต าบลน้ าบ่อหลวง อ าเภอสันป่าตอง และ 3) กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกฝรั่ง ต าบลท่าวังพร้าว อ าเภอสันป่า ตอง พบความไม่สอดคล้องหรือเป็นไปตามข้อก าหนด มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ สามารถยื่นขอรับการ รับรอง มาตรฐานแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ได้ กับหน่วยรับรองกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เกษตรกรควรท าการแก้ไขข้อบกพร่องให้แล้วเสร็จ จึงขอยื่นการรับรอง มาตรฐานแหล่งผลิต พืชอินทรีย์ กับหน่วยรับรองกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือเปลี่ยนมาท า ระบบ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส าหรับพืชอาหาร แล้วยื่นขอรับการรับรอง มาตรฐานการปฏิบัติ ทางการเกษตรที่ดีส าหรับพืชอาหาร (GAP พืชอาหาร) กับหน่วยรับรองกรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้ตามความเหมาะสม
Abstract
This research is aimed at promoting the production of agricultural products in Chiang Mai province to have the potential to compete in ASEAN. It is a qualitative and quantitative research collected results of the effectiveness and potential to produce agricultural organic products from ten farmer groups in nine sub-districts. The standards were referred to organic agriculture part 1: the production, processing, labelling and marketing of produce and products from organic agriculture (TAS 9000 part 1- 2014) and organic agriculture part 4: organic rice (TAS 9000 part 4 – 2010). The results showed that there were seven groups, namely 1) longan growers at Ban Pao, Ban Pao sub-district, Mae Tang district 2) organic passion fruit growers at Ban Luang sub-district, Mae Ai district 3) organic passion fruit growers at Ban Pong sub-district, Hang Dong district 4) organic rice farmers at Ban Mae, San Pa Tong District 5) organic rice farmers at Huai Sai sub-district, Mae Rim district 6) organic rice farmers at Nam Phrae Pattana sub-district, Hang Dong District and 7) Pumeun farmers, Ban Luang sub-district, Mae Ai district. These agricultural communities were complied with requirements, organic farming standards and can be certified organic plant production with Department of Agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperatives. However, it may be required to complete further improvements before filing a certification request as follows 1) the bumper line between organic converter and livestock with a livestock farming record 2) drainage ditch from จ kitchens and bathrooms 3) material storage facility and agricultural equipment as well as the category labeled information 4) training of good practice for packaging vegetables and fruits (GMP) 5) no burning organic objects in organic longan converters 6) external agriculture using organic products and microorganisms requires non-GMO and/or organic standard certified and 7) complete form record. For the three farmer groups, 1) jumbo longan grower growers at Chom Phu sub district, Sara Phi district 2) onion growers at Nam Bo Luang sub-district, San Pa Tong district and 3) guava growers at Tha Wang Phrao, sub-district, San Pa Tong district were found incompliance with organic farming standards. Farmers have two options as appropriate by a completion the restoration before request filled certification standard of organic crop production or change the production system to the good agricultural practices for food crops, then later applying for GAP food crops with Department of Agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperatives.
ไฟล์งานวิจัย
109 09 ม.ค. 2562

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445