
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
ชุดโครงการย่อย การวิจัยและพัฒนาการผลิตเนื้อและผลิตภัณฑ์ไก่แม่ฮ่องสอนให้เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อส่งเสริม ความเข้มแข็งของชุมชนและการท่องเที่ยว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ พริบไหว
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
1419-64-AGRI-TSRI
บทคัดย่อ
กำรวิจัยและพัฒนำกำรผลิตเนื้อและผลิตภัณฑ์ไก่ แม่ฮ่องสอนให้เป็นสิ่งบ่งชี้ทำงภูมิศำสตร์เพื่อส่งเสริมควำมเข้มแข็งของชุมชนและกำรท่องเที่ยวไก่แม่ฮ่องสอน เป็นโครงกำรที่มีเป้ำหมำยเพื่อศึกษำและรวบวมข้อมูลไก่แม่ฮ่องสอนสำหรับกำรขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทำงภูมิศำสตร์ จำกกำรศึกษำ พบว่ำ ไก่แม่ฮ่องสอนมีน้ำหนักแรกฟักเฉลี่ย 28.84+0.78 กรัมน้อยกว่ำไก่ประดู่หำงดำ ไก่ไข่เพศผู้ และไก่เนื้อ (P<0.01) ตำมลำดับ เมื่อเลี้ยงถึงน้ำหนักส่งฆ่ำที่ 16 สัปดำห์มีน้ำหนักตัวเฉลี่ย 974.52+0.39 กรัมน้อยกว่ำไก่ไข่เพศผู้ ไก่ประดู่หำงดำ และไก่เนื้อ (P<0.01) ตำมลำดับ กินอำหำรเฉลี่ย 3472.12+47.66 กรัม น้อยกว่ำไก่ประดู่หำงดำ ไก่ไข่เพศผู้ (P<0.01) ตำมลำดับ มีอัตรำแลกเนื้อเฉลี่ย 3.68+0.18 เท่ำกับไก่ไข่เพศผู้ แต่สูงกว่ำไก่ประดู่หำงดำ (P<0.01) ไก่แม่ฮ่องสอนมีเปอร์เซ็นต์ซำกเท่ำกับไก่ไข่เพศผู้ แต่น้อยกว่ำไก่เนื้อและไก่ประดู่หำงดำ (P<0.01) เนื้ออกไก่แม่ฮ่องสอนมีไขมันต่ำกว่ำไก่ประดู่หำงดำ ไก่ไข่เพศผู้และไก่เนื้อ (P<0.01) ตำมลำดับ มีเนื้อที่มีแรงต้ำนแรงตัดเฉือนสูงเท่ำกับไก่ประดู่หำงดำ แต่สูงกว่ำไก่เนื้อและไก่ไข่เพศผู้ (P<0.05) ตำมลำดับ เนื้อหน้ำอกและสะโพกมีปริมำณพิวรีนต่ำกว่ำไก่ประดู่หำงดำ ไก่ไข่เพศผู้ และไก่เนื้อ (P<0.01) ตำมลำดับ นอกจำกนี้ ยังมีกรดอะมิโนกลูตำมิกสูงกว่ำไก่ไข่เพศผู้ ไก่ประดู่หำงดำ และไก่เนื้อ (P<0.01) ตำมลำดับ ลักษณะของร่ำงกำยของไก่แม่ฮ่องสอนจะมีสัดส่วนที่น้อยกว่ำ ไก่ประดู่หำงดำ ไก่ไข่เพศผู้ และไก่โร๊ด (P<0.01) ลักษณะสัณฐำนวิทยำทุกลักษณะของไก่แม่ฮ่องสอนต่ำกว่ำไก่ทุกสำยพันธุ์ (P<0.01) และไก่เพศผู้มีลักษณะสัณฐำนวิทยำทุกลักษณะมำกกว่ำไก่เพศเมีย (P<0.01) ส่วนขนำดร่ำงกำยและควำมสมบูรณ์ของร่ำงกำย พบว่ำ ทุกลักษณะของไก่แม่ฮ่องสอนน้อยกว่ำไก่ทุกสำยพันธุ์ (P<0.01) และไก่เพศผู้มีขนำดของร่ำงกำยและควำมสมบูรณ์ของร่ำงกำยมำกกว่ำเพศเมีย (P<0.01) ไก่แม่ฮ่องสอนจะมีพฤติกรรมที่โดดเด่นกว่ำไก่สำยพันธุ์อื่นๆ ได้แก่ กำรส่งเสียงขัน และมีกำรตอบสนองต่อกำรใช้ฮอร์โมนเทสทอสเทอร์โรน เนื้อไก่แม่ฮ่องสอนสำมำรถทำอำหำรได้หลำยเมนูทั้งเมนูท้องถิ่นและเมนูอำหำรไทย
Abstract
Research and development of meat and chicken products production in Maehongson as a geographical indication to promote community strength and Maehongson chicken tourism. It is a project that aims to study and collect information on Maehongson chickens for the registration of Geographical Indications. It was found that the Maehongson hens had an average first hatch weight of 28.84+0.78 g, less than the Praduhangdum, rooster, and broiler chickens (P<0.01), respectively. When raised to slaughter weight at 16 weeks, the average body weight of Maehongson chicken was 974.52+0.39 g, less than the rooster. Praduhangdum, and broilers (P<0.01), respectively. The average feed intake of Maehongson chicken was 3472.12+47.66 g, less than Praduhangdum and rooster (P<0.01), respectively. The average feed conversion ratio was 3.68+0.18, the same as the rooster, but higher than Praduhangdum chickens (P<0.01). Maehongson chickens had the same percentage of carcasses as roosters, but less than broilers and Praduhangdum chickens (P<0.01). ) Maehongson breast meat is lower in fat than Praduhangdum, rooster, and broilers (P<0.01), respectively. Maehongson chickens had the same high shear resistance as Praduhangdum, but higher than broilers and roosters (P<0.05), respectively. Breast and thigh meat of Maehongson chicken had lower purine content than Praduhangdum, roosters, and broilers (P<0.01), respectively. In addition, the glutamic acid is higher than the roosters, Praduhangdum, and broilers (P<0.01), respectively. The body exterior/appearance of the Maehongson chicken is proportional to less than Praduhangdum, rooster, and Rhode chickens (P<0.01). All morphological characteristics of Maehongson chickens were lower than all breeds of chickens (P<0.01), and male chickens of all breeds had more morphological characteristics than female chickens. (P<0.01). As for body nourishment, it was found that all characteristics of Maehongson chickens were less than all breeds (P<0.01) and male chickens had more body nourishment than females (P<0.01). Maehongson chickens have distinctive behavior than other chicken breeds, such as crowing, and a response to the use of testosterone. Mae Hong Son chicken meat can cook a variety of dishes, both local and Thai dishes.
ไฟล์งานวิจัย
21 11 ม.ค. 2564

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ชั้น 14 อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ 979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
02 278 8200
callcenter@trf.or.th, webmaster@trf.or.th