ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การพัฒนา Application การจัดการเรียนรู้ในยุค New Normal เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่


อาจารย์นัฐญภรณ์ เลิศอนรรฆภัณฑ์

คณะครุศาสตร์

เลขทะเบียน :

1460-64-EDU-CMRU

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของแอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อแอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จานวน 180 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มอย่างง่าย และทาการทดลองโดยให้นักศึกษาแต่ละคนเรียนเนื้อหาและทากิจกรรมผ่านแอพพลิเคชัน หลังจากทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจในการเรียนรู้โดยใช้แอพพลิเคชัน จากนั้นเก็บเก็บรวบรวมข้อมูลจากคะแนนใน การทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของแอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุดและมีประสิทธิภาพของแอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ เท่ากับ 83.42/ 92.49 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่ใช้แอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อแอพพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ อยู่ในระดับ พึงพอใจมากที่สุด

Abstract

The objective of this research were : 1)Development of Application for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning 2)to Were significantly higher than pretest scors at.05 level Learning of effective imaging criteria of 80/80 3) to study student’s satisfaction Application for to Learning for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning The sample used in this study was the first year students of Faculty of Educational Communication and Learning at Chai Mai Rajabhat University to study Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning semester academic year 2022 a total of 180 people,based on random sampling of enrolled for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning,then do. Achievement test. And satisfaction in learning the lessons of the Application for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning collection of point in the achievement test and the data was analyzed to find the average and standard deviation. 
The research results revealed that: The quality of Application for to Learning for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning was at most satisfied level and effective imaging criteria for of Information Technology for Educational Communication and Learning was criteria at 83.42/92.49.The learning achievement scores after learning from the Application for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning were significantly higher than pretest scors at .05 level.student’s satisfaction for Innovation and Information Technology for Educational Communication and Learning was at most satisfied level.

ไฟล์งานวิจัย

เอกสารอ้างอิง.pdf

ไฟล์บทคัดย่อไทย.pdf

ไฟล์บทคัดย่อภาษาอังกฤษ.pdf

ไฟล์บทที่ 1.pdf

ไฟล์บทที่ 2.pdf

ไฟล์บทที่ 3.pdf

ไฟล์บทที่ 4.pdf

ไฟล์บทที่ 5.pdf

ไฟล์ปก.pdf

ไฟล์ปกใน.odocx.pdf

กิตติกรรมประกาศ.pdf

ภาคผนวก.pdf

7 06 ต.ค. 2564

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000

http://www.cmru.ac.th

053-88-5555

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่