
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การพัฒนาเครื่องตรวจวัดค่าสีราคาประหยัดและพกพาได้สำหรับการวิเคราะห์พารามิเตอร์ในตัวอย่างน้ำ
รองศาสตราจารย์ ดร.สราวุฒิ สมนาม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
1487-64-SCI-CMRU
บทคัดย่อ
เครื่องวัดสีแบบราคาประหยัดได้ถูกพัฒนาขึ นโดยอาศัยการควบคุมด้วยบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ (Arduino Uno R3) โดยมีจุดประสงค์สาหรับการตรวจสอบคุณภาพนา การวัดสีดาเนินการด้วยเซนเซอร์วัดสี TCS34725 ซึ่งควบคุมการทางานด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ เซนเซอร์นี รายงานค่าสีแดง เขียว และนาเงิน (ระบบสี RGB) เป็นตัวเลข ซึ่งแสดงได้ทั งบนหน้าจอ LCD ของเครื่องวัดสีและหน้าจอคอมพิวเตอร์ เครื่องวัดสีมีขนาดกะทัดรัด (10.0 x 15.0 x 10.3 ซม.) และใช้พลังงานได้ทั งจากไฟบ้านและจากคอมพิวเตอร์ผ่านทางสาย USB เครื่องวัดสีที่พัฒนาขึ นถูกนาไปใช้ประเมินบางพารามิเตอร์ในตัวอย่างนา ได้แก่ pH ความกระด้าง และค่าความต้องการออกซิเจนทางเคมี (COD) โดยอาศัยวิธีการทาให้เกิดสี ผลการวิเคราะห์ที่ได้ของแต่ละพารามิเตอร์สอดคล้องกับวิธีมาตรฐานเมื่อเปรียบเทียบด้วย paired t-test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เครื่องวัดสีแสดงความเที่ยงตรงสูงในการวัดค่าสี (%RSD น้อยกว่า 5.0) โดยใช้สารละลาย 3.0 mL ต่อการวัด 1 ครั ง
Abstract
An economic colorimeter was developed by controlling via a microcontroller board (Arduino Uno R3) aimed to monitor the water quality. The color measurement operated with TCS34725 color sensor, which was processed by the microcontroller. This sensor provided in numeric values of red, green, and blue color (RGB color system) that could display on both the colorimeter LCD screen and the computer monitor. The colorimeter was compact (10.0 x 15.0 x 10.3 cm) and use both power from the mains electricity and USB port via the computer. The developed colorimeter was employed to assess some parameters in water samples, i.e., pH, hardness, and chemical oxygen demand (COD), based on the colorimetric method. The analytical results of each parameter corresponded to the standard method when compared by paired t-test at 95% confidence level. The colorimeter showed high precision in color detection (%RSD less than 5.0) by consuming the solution 3.0 mL per one detection.
ไฟล์งานวิจัย
ข้อมูลการตีพิมพ์
ชื่อบทความ :
แหล่งที่ตีพิมพ์ :Pure and Applied Chemistry International Conference 2022 (30 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2565)
ปีที่ตีพิมพ์ :2565
3 06 ต.ค. 2564

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000
053-88-5555