
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การออกแบบและพัฒนาเครื่องล้างเมือกกาแฟสำหรับชุมชนเกษตรต้นน้ำตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจษฎาพล กิตติพัฒนวิทย์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เลขทะเบียน :
1537-65-SCI-TSRI
บทคัดย่อ
การออกแบบและพัฒนาเครื่องล้างเมือกกาแฟสำหรับชุมชนเกษตรต้นน้ำตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาลักษณะของกาแฟ และรูปแบบการแปรรูปกาแฟชุมชน 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาเครื่องล้างเมือกกาแฟ 3. เพื่อทดสอบประสิทธิ์ภาพเครื่องล้างเมือกกาแฟสำหรับชุมชนเกษตรต้นน้ำ ตำบลป่าแป๋ กาแฟส่วนใหญ่ที่ปลูกเป็นกาแฟพันธุ์อราบิกา ส่วนใหญ่เพาะปลูกในชุมชนและตำบลใกล้เคียงเนื่องจากชุมชนนี้มีสภาพอากาศที่ จากแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ควรจะเป็นเครื่องที่สามารถใช้ง่ายเนื่องจาก คนในชุมชนมีความต้องการที่จะใช้เพื่อการประหยัดเวลา ประหยัดเงินในการที่จะนำเมล็ดกาแฟไปล้างที่โรงสี เครื่องที่ออกแบบขึ้นสามารถใช้งานได้จริง และติดตั้งทดสอบกับพื้นที่เป้าหมายโดยเกษตรกรเป็นผู้ใช้งาน จากการหาประสิทธิ์ภาพของเครื่องโดยรวม เมื่อเราล้างน้ำหนัก ผลกาแฟที่ 105.67 กิโลกรัม ใช้เวลา 29.5 นาที ได้น้ำหนักกาแฟที่หลังล้าง 68.75 กิโลกรัม ใช้ปริมาณน้ำ 0.281 ลบ/กก. การแตกหลังล้าง คือ 1% ความสามารถ 212.854 กก./ชม. ผลของเมล็ดกาแฟที่ได้มีความสมบูรณ์ และสามารถแรงงานในการล้างของเกษตรกรได้มากขึ้นจากการล้างเมือกใช้เวลานาน และสามารถสร้างงานในชุมชนมากขึ้น
Abstract
Design and development of a coffee slime washing machine for a watershed agricultural community in Pa Pae Sub-district, Mae Taeng District, Chiang Mai Province. Objectives 1. To study the characteristics of coffee and coffee processing patterns in the community. 2. To design and develop a coffee slime cleaning machine. 3. To test the efficiency of the coffee slime cleaner for the upstream agricultural community of Pa Pae sub-district. Most of the coffee grown is Arabica. Most of them are cultivated in the community and nearby sub-districts because this community has a climate that. From the sample questionnaire, it was found that it should be a device that can be easily used because. People in the community want to use it to save time. Save money having to wash the coffee beans at the mill. The designed machine can actually be used and tested in the target area by farmers. From finding the overall performance of the machine When we wash the weight of coffee fruit at 105.67 kilograms, it takes 29.5 minutes. The weight of the coffee after washing was 68.75 kilograms, with the amount of water 0.281 m3/kg, the breakage after washing was 1%.Capacity 212.854 kg/hr. The result of the coffee beans is more mature and the farmer can labor to wash more from the mucus washing takes a long time. and can create more jobs in the community.
ไฟล์งานวิจัย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
4 19 ส.ค. 2565

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ชั้น 14 อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ 979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
02 278 8200
callcenter@trf.or.th, webmaster@trf.or.th