ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การออกแบบพัฒนาแบบจำลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง แสงและเงา เพื่อพัฒนาผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา


อาจารีย์ ทองอ่อน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เลขทะเบียน :

1769-66-SCI-CMRU

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของแบบจาลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง แสงและเงา (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 ศึกษาหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบจาลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง แสงและเงา กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนวิชาฟิสิกส์ โรงเรียนวชิรวิทย์ เชียงใหม่ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จานวน 22 คน การวิเคราะห์ผล ได้วิเคราะห์จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน การทาใบงาน การทาแบบทดสอบหลังเรียน และคาตอบจากแบบสารวจความพึงพอใจที่มีต่อการใช้แบบจาลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง แสงและเงา จากการวิจัยพบว่า (1) ค่าประสิทธิภาพของแบบจาลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง แสงและเงา มีค่าเท่ากับ 92.27/75.00 (2) นักเรียนส่วนใหญ่มีค่าความก้าวหน้าทางการเรียนอยู่ในกลุ่ม Medium gain (3) นักเรียนให้ผลความพึงพอใจในเชิงบวกที่ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.99 และผลความพึงพอใจในเชิงลบที่ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.90 แสดงผลว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้แบบจาลองโต้ตอบเสมือนจริงในระดับพึงพอใจมาก แสดงให้เห็นว่าแบบจาลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง แสงและเงา นี้มีความเหมาะสมสาหรับนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนที่เรียนวิชาฟิสิกส์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Abstract

This research aimed to study the effectiveness of the interactive virtual model on light and shadow (E1/E2) according to the 80/80 criterion, learning achievement and and students’ satisfaction about using the interactive virtual model on light and shadow. The target group consisted of 22 Mathayom 5 students studying physics at Vachirawit Chiang Mai School in the first semester of the 2023 academic year. The analytic data came from the results of the pre-test, worksheet, post-test. and responses from a survey of satisfaction with the use of interactive virtual models on light and shadow. The research found that (1) the effectiveness of the interactive virtual model on light and shadow (E1/E2) is 92.27/75.00. (2) Most students are in the Medium gain group. (3) Student’s response for positive attitude with the average score 3.99 and 1.90 for a negative attitude that shown very satisfy. It shows that this virtual interactive model on light and shadow is suitable for use as a teaching tool for Mathayom 5 students who study physics.

ไฟล์งานวิจัย

เล่มวิจัย.pdf

5 04 เม.ย. 2566

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000

http://www.cmru.ac.th

053-88-5555

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่