
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การลดภาวะโลกร้อนตามโครงการธนาคารขยะรีไซเคิลโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในแขวงนครพิงค์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
อาจารย์สมศักดิ์ พรมจักร
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
283-56-HUSO-NRCT
บทคัดย่อ
การลดภาวะโลกร้อนตามโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในแขวงนครพิงค์ อา เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวตัถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทการบริหาร จัดการโครงการธนาคารขยะรีไซเคิลในภาคส่วนต่าง ๆ 2) เพื่อด าเนินการโครงการธนาคาร ขยะรีไซเคิลสู่ชุมชน 3) เพื่อเป็นแนวทางสู่แผนปฏิบัติการของชุมชนแขวงนครพิงคแ์ละชุมชนอื่น ๆ ในการแก้ไขด้านปัญหาภาวะโลกร้อนที่ส่งผลกระทบต่อปัญหาน ้าท่วมในปัจจุบัน โดยใช้วิธีการ สังเกตแบบมีโครงสร้าง วิธีการสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ วิธีการสนทนากลุ่ม แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และใชว้ิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และใชส้ถิติเชิง พรรณนา คือ การหาค่าอัตราส่วนร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า แขวงนครพิงค์ ตั้งอยู่ในอ าเภอเมือง เชียงใหม่ ประกอบด้วย 20 ชุมชน และเป็นเขตรับผิดชอบของเทศบาลนครเชียงใหม่ โดยทาง เทศบาลนครเชียงใหม่ได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนร่วมบริหารจัดการแยกขยะไม่ว่าจะเป็นการ รีไซเคิลหรือการน ากลับมาใช้ใหม่และการคัดแยกขยะประเภทต่าง ๆ เพื่อน ามาก าจัดอย่างถูกวิธี ส่วนแขวงนครพิงคไ์ดม้ีการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการลด คดัแยกและนา ขยะ กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ตั้งแต่ต้นทางได้อย่างเหมาะสม ดา้นธุรกิจการรับซื้อขยะเพื่อการรีไซเคิล (ร้านรับซื้อของเก่า) มีวิธีการควบคุมและลดปริมาณขยะโดยใช้วิธีการ 3R ได้แก่ R : Reduce R : Reuse และ R : Recycle แนวทางบริหารจดัการโครงการธนาคารขยะรีไซเคิลของชุมชนแขวงนครพิงค์และจงัหวดั เชียงใหม่ โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ในส่วนของเทศบาลนครเชียงใหม่ไดม้ีวิธีการจดัการ ก าจัดขยะมูลฝอยโดยการจัดการว่าจ้างเหมาเอกชนในการจัดเก็บขยะมูลฝอย และได้มีการรณรงค์ ลดปริมาณขยะ รวมทั้งการให้ประชาชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบันการศึกษาได้เข้ามา มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาดงักล่าว ส่วนแขวงนครพิงค์ได้ก าหนดแนวทางในการบริหารจดัการขยะและ วสัดุรีไซเคิล คือ เป็นผูด้า เนินงานเองและทา หน้าที่ในการรับขยะและวสัดุรีไซเคิลจากครัวเรือน ที่ร่วมโครงการจ าหน่ายให้กับร้านรับซื้อของเก่าในพื้นที่ ส่วนขยะย่อยสลายได้อาจน าไปทา ปุ๋ย ด้านร้านรับซื้อของเก่ามีการด าเนินงานและการคัดแยกขยะรีไซเคิลแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ การรับซื้อขยะ การคัดแยกขยะ และการจัดจ าหน่าย ส าหรับสถานศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎ เชียงใหม่ มีแนวทางการจดัการวสัดุรีไซเคิลในมหาวิทยาลยัอยู่ด้วยกัน 2 ทางคือ 1) การตั้งภาชนะ รองรับขยะในพื้นที่ส่วนกลาง และ 2) การจัดตั้งธนาคารวัสดุรีไซเคิล ส าหรับการด าเนินการ โครงการธนาคารขยะรีไซเคิลกับชุมชนอันเป็นส่วนหนึ่งในการน าไปสู่แผนปฏิบัติการของชุมชน แขวงนครพิงค์และชุมชนอื่น ๆ ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมต่อไปในอนาคต มีวตัถุประสงคก์าร จัดตั้งธนาคารเพื่อให้เกิดจิตส านึกในการคัดแยกขยะจากครัวเรือน โรงเรียนหรือสถานที่ท างาน ฯลฯ
Abstract
The Reduction of Global Warming under the Recycling Bank Project through the Participation of Communities in Nakornping County, Muang District, Chiang Mai. There have the objectives 1) to study the context of waste bank project management in various sectors. 2) To implement the garbage bank project. 3) As a guideline for the action plan of Nakornping community and other communities in tackling the current global warming problem. Using structured observation, formal interview method, group discussion and the questionnaires were tools for collecting data. The method used to select the specific sample. There was also descriptive statistics were used to determine the percentages. The results shown that Nakornping is located in Mueang Chiang Mai district was composed of 20 communities and under the responsibility of Chiang Mai Municipality. Chiang Mai municipality has campaigned for people to manage waste separation, recycling or reuse, and sorting waste to be properly disposed of. Nakornping has encouraged all sectors to participate in the reduction, separation and reuse of waste from the sources. The businesses to buy garbage for recycling were a way to control and reduce waste by using 3R methods: R: Reduce R: Reuse and R: Recycle. The management of waste Recycling Bank Project in Nakornping and Chiang Mai by the participation from people in Chiang Mai Municipality, there was a way to manage waste disposal by managing private contractors to collect waste. And there was a campaign to reduce waste. As well as providing people, organizations, agencies and educational institutions have been involved in solving the problems. Nakornping municipality has set guidelines for the management of waste and recyclable materials. It was the operator and responsible for the waste and recyclable materials from households participating in the sale to local antique shops. The garbage can recycled into the fertilizer. The recycling business was divided into 3 stages: garbage collection, waste sorting and distribution. For the educational institutions such as Chiang Mai Rajabhat University, there were two approaches to manage recycling materials in the university: 1) the establishment of a waste container in the central area 2) the establishment of a recycling material bank. This recycling material bank project is a part of the implementation with the community as part of the implementation of the Action Plan for Nakornping community and other communities to address the environmental problem in the future. The purpose was to set up a recycling material bank to consciously remove waste from households, school or workplaces.
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา859 24 พ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445