ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การส่งเสริม อนุรักษ์ เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองวงกลองตึ่งโนง ของชุมชนแขวงนครพิงค์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


อาจารย์เมธินี ตุ้ยสา

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

284-56-HUSO-NRCT

บทคัดย่อ

การส่งเสริม อนุรักษ์ เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองวงกลองตึ่งโนงของชุมชน แขวงนครพิงค์ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ด้านการบรรเลงเพลง ที่ใชใ้นวงกลองต่ึงโนง และเพื่ออนุรักษ ์สืบสานอตัลกัษณ์การบรรเลงตน้แบบวงกลองต่ึงโนง กระตุน้ให้ เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เยาวชนต่อไป รวมถึงเพื่อ สืบทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นวงกลองตึ่งโนง เป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ในระดับท้องถิ่น ระดบัชุมชน ระดับประเทศสู่สากล โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุ่มศิลปินวงกลองตึ่งโนง ของพ่ออุ้ยถา ธรรมสุจริต ของคณะวัดกู่เต้า อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ใช้วิธีการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ผลการวิจัยด้วยโดยการการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า วงกลองตึ่งโนงมีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยพญามังราย และมีพัฒนาการต่อเนื่อง มาจนถึงสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี สมัยนี้มีการปรับปรุงพัฒนารูปแบบเป็นวงกลองตึ่งโนง ที่สมบูรณ์และใช้บทบาทที่ชัดเจนจนถึงปัจจุบนั ในวงต่ึงโนงประกอบดว้ยเครื่องดนตรี คือ กลองแอว กลองตะหลดปด ฆ้องอุ้ย ฆ้องโหย้ง สว่า แนหน้อย และแนหลวง ซึ่งในการประสมวงของเครื่องดนตรี เน้นความส าคัญของความสัมพันธ์ของเสียงดนตรีทั้งวง โดยท านองและจังหวะวงกลองต่ึงโนง จะบรรเลงเพลงแหย่งหลวง แนวท านองเป็นกลุ่มเสียงเฉพาะตัว มีองค์จงัหวะนา องค์จงัหวะหลกัและ องคจ์งัหวะลงจบ ปัจจุบันกลองตึ่งโน่งมีบทบาทหน้าที่ใช้ในงานบุญทางพุทธศาสนาอยู่และมีการสืบทอด แพร่หลายอยู่ตามวัดต่าง ๆ ซ่ึงในปัจจุบันนักดนตรีรุ่นเยาว์ก็ได้มีการเรียนการตีกลองตึ่งโน่ง ตามสถานศึกษา วัด โดยมีครูผู้ฝึกซ้อมและเริ่มน าสู่การแสดงทั้งในจังหวัด และต่างจังหวัด รวมทั้งถ่ายทอดไปยังโรงเรียนหรือวัดที่ต้องการที่เรียนด้วย ซึ่งผู้ที่จะเรียนการตีกลองตึ่งโน่งจะต้องมีพิธีไหวค้รู เพื่อเป็นสิริมงคลและขอใหเ้รียนไดส้า เร็จตามประสงค์ การสืบทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นวงกลองตึ่งโนงเป็นความรู้ที่เกิดจากการทดลองปฏิบัติ จริงในห้องทดลองทางสังคม ถ่ายทอดกันมาด้วยเวลายาวนาน มีวิธีการสืบทอดและถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่หลากหลาย เช่น การบอกเล่า การสาธิต การปฏิบัติจริง ทั้งนี้ผู้วิจัยได้น าองค์ความรู้ที่ได้จากการท าวิจัย เผยแพร่และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นตามสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือ แผ่นพับ วารสาร หนังสือพิมพ์ ฐานขอ้มูล อิเล็กทรอนิกส์ วทิย ุโทรทศัน์ เป็นต้น

Abstract

This research title “Promotion and Concervation to pass on Arts and Culture of Folk Music, Tung-Nong“ Tradition Drum Band in Nakorn Ping County, Muang District, Chiang Mai” aims to 1) study the body of knowledge of performance tradition of Tung Nong ensemble, 2) to conservation and carry on identity of the origin tradition of Tung Nong performance. The youth proud of local wisdom by knowledge transfer. 3) to inherit the local knowledge of Tung Nong ensemble and public relations to local, communities and nation to worldwide. The population of this study is the member of Tung Nong ensemble of Master Tha Dhammasujarit of Kue Tao temple, Muang Chiang Mai, Chiang Mai Province by specific sample. Use interview to collected data and analysis, use descriptive approach to present the research result. The result of this research as follows; The Tung Nong ensemble has a long story since King Mung Rai period and continues development in Princess Dara Rasmi period. In this period Tung Nong ensemble was develop to tradition performance and has function in society to present day. The instrument member of Tung Nong ensemble is Klong Aew, Klong Talodpod, Gong Eui, Gong Yong, Swa, Nae Noi and Nae Loung. The orchestration of this ensemble focus on the relations of sound. The melody and rhythm of Tung Nong ensemble played Yaeng Loung song. The melody of this song has own melodic mode, include title, main and end of melodic and rhythmic pattern. In present day, Tung Nong ensemble rules in performance to religious ceremony of Buddhism and inheritance at the temples. The youth Tung Nong musician learn the performance at the school and temple with the master to perform in province and nation level. People who what to learn this ensemble should be attend the Wai Kru ceremony first before learning to performance. The inherit the wisdom knowledge of Tung Nong ensemble come from practice in real performance situation in the society. The method of knowledge transfer is various such as storytelling, demonstration and performance. In this research, the researcher presents some result of this research by newspaper, brochures, magazine, book, electronic database.

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

783 28 พ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่