
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การสร้างอาชีพให้กับผู้สูงอายุเพื่อความมั่นคงในชีวิตด้วยศิลปะหัตถกรรมประจำถิ่น
อาจารย์สิริพร คืนมาเมือง
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
289-56-HUSO-NRCT
บทคัดย่อ
การสร้างอาชีพให้กับผู้สูงอายุเพื่อความมั่นคงในชีวิตด้วยศิลปหัตถกรรมประจาถิ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทชุมชนและลักษณะทางกายภาพของจานวนผู้สูงอายุในเขต แขวงนครพิงค์ อา เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างชุดความรู้เรื่อง หัตถกรรมประจา ถิ่นให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุในแขวงนครพิงค์ อา เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อเสริมสร้างสถานภาพทางเศรษฐกิจอาชีพให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุในเขตแขวงนครพิงค์ อา เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ให้สามารถดา รงชีวิตอย่างมั่นคงในสังคมปัจจุบันได้ ทั้งนี้ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ กลุ่มผู้สูงอายุในแขวงนครพิงค์ อา เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่ ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผลการวิจัยด้วยโดยการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบ่งเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 61-65 ปี สถานภาพหม้าย/หย่าร้าง อาศัยอยู่ในแขวงนครพิงค์ เข้ารับการศึกษาชั้นประถมศึกษา ส่วนใหญ่ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีความรู้ความสามารถพิเศษด้านการทา อาหาร งานประดิษฐ์ เย็บผ้า ฯลฯ และ มีบุตร จา นวน 1 คนมากที่สุด โดยสถานภาพปัจจุบันมีผู้อุปการะ ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นสมาชิกภายใน ครอบครัว และมีแหล่งที่มาของรายได้ คือ เบี้ยยังชีพ ทั้งนี้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ระหว่าง ครอบครัวและชุมชนเป็นอย่างดี มีสุขภาพแข็งแรง สามารถช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตร ประจา วัน / ความสามารถ ด้านอื่น ๆ ได้ด้วยตนเอง สถานที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยมีความปลอดภัย เพราะเป็นแหล่งชุมชนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสภาพอากาศที่ดี มีสิ่งอา นวยความสะดวกและสาธารณูปโภคที่จา เป็นพื้นฐาน ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย มีความพอใจกับชีวิตมีทัศนคติที่ดีต่อครอบครัวและสังคม รวมถึงมีความรู้สึกเพียงพอในชีวิต มี ความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าต่อครอบครัว ไม่เป็นภาระให้กับบุตรหลานและสังคม มีความสุขกับชีวิต ที่เหลืออยู่ และมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมรายได้และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ ในช่วงวันและเวลาหยุดราชการ ซึ่งกิจกรรมฝึ กอาชีพที่ผู้สูงอายุให้ความสนใจมากที่สุดคือ ง การฝึกอาชีพด้านงานกระดาษ โคม ตุง ซึ่งผู้สูงอายุสามารถฝึกอบรมอาชีพได้จนครบหลักสูตร โดยไม่ติดขัดต่อเรื่องสุขภาพร่างกายแต่อย่างใด สาหรับการสร้างชุดความรู้เรื่องหัตถกรรมประจาถิ่นให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุในเขตแขวง นครพิงค์ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่นั้น ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ให้ความสนใจงานหัตถกรรมประจาถิ่น โดยเฉพาะงานหัตถกรรมสาขากระดาษและงานหัตถกรรมสาขาศิลปะประดิษฐ์ ซึ่งผู้สูงอายุได้ให้ความคิดเห็นว่างานหัตถกรรมที่จะนามาสร้างชุดความรู้นั้น จะต้องมีขั้นตอนและวิธีการทาที่ไม่ซับซ้อน สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ หรือสามารถทาเป็นอาชีพเสริมได้ ตลอดจนมีตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ เป็นต้น สถานภาพทางเศรษฐกิจของกลุ่มผู้สูงอายุในเขตแขวงนครพิงค์ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีแหล่งรายได้มาจากเบี้ยยังชีพรายเดือนแบบขั้นบันไดจากรัฐบาล แหล่งรายได้จากลูกหลานที่มักจะไม่แน่นอน และรายได้จากการทางาน ซึ่งอายุยิ่งมากรายได้จากการทางานก็ลดลง ส่วนการเสริมสร้างสถานภาพทางเศรษฐกิจอาชีพให้แก่ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นเรื่องที่ดี โดยลักษณะงานหรืออาชีพที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุควรจะมีลักษณะที่เป็นงานอดิเรก สร้างความเพลิดเพลิน มีการรวมกลุ่ม ลงทุนไม่มาก ไม่สร้างความเหน็ดเหนื่อย
Abstract
Providing Careers for the Elderly for their life Stability with Local Arts and Handicrafts has the objectives to study the community context and physical characteristics of the elderly in Nakhonping municipality, Chiang Mai. There have the objectives to study the guideline for the creation of local handicraft knowledge for elderly people in the Nakhonping municipality, Chiang Mai. There were to strengthen the economic status of the elderly in Nakhonping municipality, Chiang Mai to live in a stable society in the current. The population used in this study was the elderly in Nakhonping municipality, Chiang Mai. They were selected by using the sample selection method. There were also using the questionnaire as a tool to collect data and analysis of the results by descriptive. The study was found that the sample elderly in the study were more female than the male. They were 61-65 years old and most widow or divorced status. They were living in Nakhonping municipality, Chiang Mai. They had been through the primary education. They have the knowledge and skills in cooking, sewing, etc. Most of them have one child. They were members in family. The source of income was the subsistence allowance. Most of the elderly have family and community relations. They were healthy and self-help in daily activities or the other abilities. The elderly's residences were a good example in research. It was a community with a good quality of life. There have a good weather and there were also basic facilities and utilities. The elderly were the sample in the research. They satisfied with their life and good attitude towards family and society. There have their own good feeling in life and they have a sense of self-worth to the family. They do not want to burden their children and society. They have fun with the rest of life. They were interested in participating activities to promote income and help to improve the quality of life of the elderly during the day and national holidays. In addition, the occupational activity of the elderly was the most attention to study. The vocational training in paper lanterns which the elderly can train to complete the occupation was without worries about the elderly's health. The creation of local handicraft knowledge for the elderly in Nakhonping municipality, Chiang Mai was the most of older people pay ฉ attention to local handicrafts, especially paper craft and handicraft art. The older people have given the opinion that the craft-knowledge sets must be procedures and procedures. That was not complicated. There can be used in daily life or can be a career. There was a market for products. The economic Status of the elderly in Nakhonping municipality, Chiang Mai showed that the source of income came from the monthly subsistence allowance from the government. The income sources from descendants were often unpredictable. Some of income was from working. The older people worked mean the lower the income. However, the strengthening the economic status of the elderly was a good thing. The job or career appropriate for the elderly should be hobbies that they could enjoy with it. There should be investment groups and do not make the elderly tired
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา610 04 มิ.ย. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445