
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ การยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส และการยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ของสารสกัดเอทานอลจากเมล็ดงาขี้ม้อน
อาจารย์ ดร.ฤดีวรรณ ตั้งประดิษฐ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
325-57-SCI-CMRU
บทคัดย่อ
จากการนากากเมล็ดงาขี้มอนที่ผ่านการกาจัดไขมันแล้วมาทาการสกัดเย็นโดยใช้ เอทานอล ได้ร้อยละสารสกัดเฉลี่ยเท่ากับ 1.59 ± 0.26 เมื่อนาสารสกัดเอทานอลจากกากเมล็ดงาขี้ม้อนที่ได้มาหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมได้เท่ากับ 61.76 ± 3.69 mg GAE/g สารสกัด จากการหาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธีฟอกจางสี ABTS•+ พบว่าความเข้มข้นที่สามารถต้านอนุมูลอิสระได้ร้อยละห้าสิบ (IC50) ของสารสกัดเอทานอลจากกากเมล็ดงาขี้ม้อน และวิตามินซีเท่ากับ 39.61 ± 2.42 และ 2.79 ± 0.07 μg/mL ตามลาดับ คานวณค่าฤทธิ์ต้านออกซิเดชันโดยเทียบกับวิตามินซีได้เท่ากับ 70.54 ± 2.48 mg/g สารสกัด เมื่อนาสารสกัด เอทานอลจากกากเมล็ดงาขี้ม้อนมาทดสอบฤทธิ์การยับยั้งการทางานของเอนไซม์ไทโรซิเนส พบว่าสารสกัดเอทานอลจากกากเมล็ดงาขี้ม้อนที่ความเข้มข้น 35 mg/mL ไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการทางานเอนไซม์ไทโรซิเนส แต่กลับมีฤทธิ์เสริมการทางานเอนไซม์ และจากการหาฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ โดยวิธี Agar disc diffusion พบว่าสารสกัดเอทานอลจากกากเมล็ดงาขี้ม้อนที่ความเข้มข้น 25-200 mg/mL ไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli, Staphylococcus aureus และ Proteus mirabilis ที่ใช้ในการทดสอบได้
Abstract
Ethanolic extracts of defatted perilla seeds (Nga-kee-mon, Perilla frutescens (Linn.) Britt) were evaluated for phenolic content, antioxidant, tyrosinase inhibition and antimicrobial activities. The extract exhibited the total phenolic content 61.76 ± 3.69 mg GAE/g extract. The extract and ascorbic acid were tested for antioxidant activities by using ABTS•+ scavenging assay method. It was found that, The ethanolic extract and ascorbic acid showed IC50 of 39.61 ± 2.42 and 2.79 ± 0.07 μg/mL, respectively. From their IC50 values, antioxidant activity of the extract was expressed vitamin C equivalent antioxidant capacity (VCEAC) of 70.54 ± 2.48 mg/g crude extract. While, inhibitory effect of the extracts on tyrosinase was determined by DOPA oxidase assay. The extract at the concentration of 35 mg/mL could not inhibit tyrosinase but promoted enzyme activity. Antibacterial activity against three bacterial stains was assessed by paper disc diffusion method. The extract with various concentration ranges from 25 to 200 mg/mL showed no inhibitory activity against the growth of Escherichia coli, Staphylococcus aureus and Proteus mirabilis
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา576 26 มี.ค. 2561

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000
053-88-5555