ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การลดภาวะโลกร้อนตามโครงการรีไซเคิล โดยใช้ศิลปะสร้างสรรค์อาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


อาจารย์สมศักดิ์ พรมจักร

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

380-57-HUSO-NRCT

บทคัดย่อ

การลดภาวะโลกร้อนตามโครงการรีไซเคิล โดยใช้ศิลปะสร้างสรรค์อาศัยการมีส่วนร่วมของ สถานศึกษาในอ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทการลดภาวะ โลกร้อน ตามโครงการขยะรีไซเคิลของสถานศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ (โรงเรียนดาราวิทยาลยั) 2) ลดปัญหาและ เพิ่มมูลค่าขยะด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบวิเคราะห์ ความส าเร็จของโครงการศิลปะสร้างสรรค์เพื่อลดปัญหาขยะและเพิ่มมูลค่าการประเมินผลโดยใช้มาตรา ส่วนการประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด จากนั้นจึง แสดงผลออกมาเป็นตาราง (Table) อตัราร้อยละ (Percentage) ผลการศึกษาพบว่า โรงเรียนดาราวิทยาลัย เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพ มุ่งสู่มาตรฐานสากลพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี ตามหลักค าสอนของคริสต์ศาสนา เป็นคนเก่งตามศักยภาพ อนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอ้ม มีทักษะในการด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจุบันโรงเรียนดาราวิทยาลัย เปิดสอนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และตั้งอยู่เลขที่ 196 ถนน แก้วนวรัฐ ต าบลวัดเกต อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50000 สังกัด ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทรศพัท ์053-241039, 053-248069-70 โทรสาร 053-249152 e-mail : contact@dara.ac.th website www.dara.ac.th มีพื้นที่ทั้งหมด 77 ไร่ 5 ตารางวา มีอาคารเรียนทั้งหมด 9 อาคาร และ อาคารประกอบทั้งหมด 11 อาคาร มีห้องเรียนทั้งหมด 160 หอ้ง มีจ านวนครูทั้งหมด 437 คน เจา้หนา้ที่ 134 คน มีจ านวนนักเรียนทั้งหมด 6,732 คน คณะผบู้ริหาร คณะครู นกัเรียน เจา้หนา้ที่ ผปู้กครอง ผู้ประกอบการในโรงเรียน และชุมชน ตระหนักถึงสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและร่วมกันช่วยเหลือปัญหาที่เกิดขึ้น ด้านลดปัญหาและเพิ่มมูลค่าขยะด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ มีกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วม กิจกรรมในครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/8 จา นวน 36 คน อายุ 10-11 ปี เหตุผลที่เข้าร่วม กิจกรรมในครั้งนี้มากที่สุดคือสนใจในการสร้างสรรคศ์ิลปะ โดยมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ครั้งนี้ และความตระหนักถึงปัญหาและการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาขยะ ของสถานศึกษาในบทบาทของนักเรียนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม อยู่ในระดับมากและระดับมากที่สุด และผู้วิจัยยังได้ท าการทดลดลองท ากระดาษจากกระดาษเหลือใช้เพื่อน ากระดาษที่ไม่ใช้แล้ว นา กลบัมาใชไ้ดไ้หม และลดปัญหาและเพิ่มมูลค่าขยะด้วยกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

Abstract

-

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

465 23 พ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่