ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

แนวทางการจัดระบบขนส่งสาธารณะต้นทุนต่ำด้วยรถสี่ล้อแดงในเมืองเชียงใหม่


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสริมศักดิ์ พงษ์เมษา

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

419-58-SCI-NCPO

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้น่าเสนอความเป็นไปได้ในการด่าเนินนโยบายพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยรถสี่ล้อแดง เพื่อลดการใช้รถส่วนบุคคลในเขตเมืองเชียงใหม่ การประเมินประสิทธิผลของนโยบายด้วยตัวชี้วัดการเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางของผู้ใช้รถส่วนบุคคล ซึ่งรวบรวมจ่านวน 1,200 คน (ผู้ใช้รถยนต์, ผู้ใช้รถจักรยานยนต์) โดยการเก็บข้อมูลแบบ Stated preference และแบบสอบถามทัศนคติ ภายใต้สถานการณ์สมมติที่มีการพัฒนาระบบรถขนส่งสาธารณะโดยการใช้รถประจ่าทางสี่ล้อแดง การจ่าแนกพฤติกรรมเคยชินและทัศนคติการยึดติดอาศัยวิธีการแยกตัวประกอบ และการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเดินทางของผู้ใช้รถส่วนบุคคลอาศัยแบบจ่าลองโลจิต ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้รถส่วนบุคคลส่วนใหญ่เชื่อว่าการใช้รถส่วนบุคคลเป็นสิ่งจ่าเป็นในชีวิตประจ่าวัน และยังคงมีความจ่าเป็นแม้จะมีระบบขนส่งสาธารณะที่สมบูรณ์แบบ และรู้สึกว่าประโยชน์และความตั้งใจในการเดินทางแม้จะเดินทางระยะใกล้ การศึกษาแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะด้วยรถสี่ล้อแดงยังไม่สามารถลดประสิทธิผลในการลดการใช้รถส่วนบุคคล ดังนั้นควรมีการคัดเลือกและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะอื่น ๆ รวมถึงการบูรณาการร่วมกับนโยบายที่จ่ากัดจ่านวนรถ อาทิ การเก็บเงินค่าใช้ถนน ซึ่งอาจจะลดพฤติกรรมเคยชินและทัศนคติการยึดติด

Abstract

This research presents the possibility of using silor daeng policies to reduce private vehicle use in Chiang Mai, Thailand. The assessment is made in terms of level of effectiveness to shift the use of private vehicles to silor daeng. Habitual behavior and captive attitude of private vehicle users were observed. A total of 1,200 private vehicle users (car and motorcycle), was randomly surveyed by a Stated Preference (SP) exercise and attitudinal questionnaire. Situations was designed by development of silor daeng system alone. The factor analysis was used to classify habitual behavior and captive attitude, while logit model was used to analyse the effects of silor daeng system. The study found that most private vehicle users believed that private vehicles were important for their daily lives and would still be essential even if a comprehensive public transport system had been implemented. They felt that using private vehicles had great benefit and they had intention of using private vehicles even for short distances. The study also showed that utilizing silor daeng system development isn’t effective. Therefore, selection and develoment of other public transport would be more effective if it is integrated with restraint measures (e.g. road pricing) that may reduce habitual behavior and captive attitude.

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

426 16 มี.ค. 2561

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)

ทำเนียบรัฐบาล

-

-

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่