ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การสำรวจปริมาณโซเดียมที่ขับออกมาทางปัสสาวะและปัจจัยที่มีผลต่อการกินเค็มในกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่


อาจารย์ ดร.สายหยุด มูลเพ็ชร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

557-58-SCI-NRCT

บทคัดย่อ

การลดการกินเค็มจะช่วยป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular diseases :CVD) การที่จะให้ประชาชนลดการกินเค็ม ต้องให้แต่ละคนตระหนักและ ทราบก่อนว่าเขาเป็นคนที่กินเค็มหรือไม่ ซึ่งส่วนใหญ่คนทั่วไปไม่ทราบว่าตนเองเป็นคนกินเค็มหรือไม่ และ การศึกษาวิจัยในการส ารวจการกินเค็มในชุมชนยังมีจ านวนจ ากัด ทั้งๆที่โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็น ปัญหาสาธารณสุขที่เป็นสาเหตุต้นๆที่ท าให้คนไทยเสียชีวิต การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อท าการ ส ารวจวัดระดับโซเดียมในปัสสาวะ และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกินเค็มในต าบลดอนแก้ว อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบการวิจัยเป็นแบบส ารวจภาคตัดขวาง (Cross-sectional survey study) ท าการส ารวจใน ผู้ที่มีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการและสามารถเก็บปัสสาวะทุกครั้งที่มีการปัสสาวะใน ตอนกลางคืนจนถึงตื่นนอนตอนเช้า (overnight collected urine) จ านวน 168 คน ตรวจหาระดับ โซเดียมโดยใช้เครื่องตรวจ KME-03 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้นและมีการทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาที่ระดับความเชื่อมั่น 0.92 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกินเค็ม คือ Binary Logistic Regression ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้าร่วมการศึกษาวิจัย อายุเฉลี่ย 57.50 ปี (SD. 9.60) เป็นเพศหญิง ร้อยละ 80.40 มีผู้กินเค็มเกินระดับที่องค์การอนามัยโลกก าหนดไว้ คือค่าโซเดียมคลอไรด์ในปัสสาวะเกิน 5 กรัม ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 88.10 ค่าเฉลี่ยโซเดียมคลอไรด์ในปัสสาวะ 8.70 กรัมต่อวัน (S.D. 2.70). ในกลุ่ม ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีคนกินเค็มร้อยละ 82.5 กลุ่มเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูงร้อยละ 90.9 และกลุ่ม ความดันปกติร้อยละ 90.3 การวัดปริมาณโซเดียมในอาหารที่ปรุงเองต่อปริมาณอาหาร 100 กรัมของ ประชาชนในต าบลดอนแก้วมีค่าเฉลี่ย 482.81 มิลลิกรัม (SD 165.56) การปรุงอาหารในกลุ่มผู้ป่วยความ ดันโลหิตสูงมีการปรุงอาหารที่มีโซเดียมสูงสุด (Mean 503.55, SD 173.99) รองมาคือกลุ่มเสี่ยงต่อความ ดันโลหิตสูง (Mean 486.53 , SD 158.39) และกลุ่มความดันปกติ (Mean 476.76, SD 166.39 ) ตามล าดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการกินเค็ม พบว่า ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารเค็ม ความรู้เกี่ยวกับ อันตรายของการกินเค็ม มีความสัมพันธ์ต่อการบริโภคเค็ม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยผู้ที่มีระดับความรู้ น้อยมีการบริโภคเค็มร้อยละ 97.3 คิดเป็น 8.28 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่มีระดับความรู้ดี (Adjusted OR 8.28, 95% CI 1.80-38.17) สรุปและข้อเสนอแนะ ส่วนใหญ่มีการบริโภคอาหารเค็มเกินที่ระดับที่องค์การอนามัยโลกก าหนด ไว้เป็นจ านวนมาก ซึ่งน าไปสู่การเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรค CVD ดังนั้น ควรให้ความส าคัญในการหา แนวทางและนวัตกรรมใหม่เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการลดเค็ม ลดโรคต่อไป ค าส าคัญ : โซเดียม ลดเค็ม โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด

Abstract

Background: Eating less sodium prevents cardiovascular diseases (CVD). For people to be able to consume less salt, they should be aware of their daily salt intake. Community-based surveys of salt intake are still few in the context of Thailand where CVD has become a leading cause of death in recent year. Objective: To estimate daily salt intake and factors associated with high salt intake in the community, Donkeaw subdistrict, Chiang Mai province, northern Thailand. Method: It was a Cross-sectional survey study. A total of 168 people aged 35 years and older were recruited. The Purposive sample comprised volunteers who consented to collect their urine to offer an overnight collected sample for measure Daily salt intake. The research instrument was structured interview to assess life style and knowledge. The reliability of questionnaire was tested in a pilot sample of 30 people. The Cronbach alpha was 0.92. Binary logistic regression analysis computed risk factors for high salt intake. Results: In the sample, mean age was 57.5 years (SD.9.6); 80.4% female, and 88.1% of participants consumed more than 5 g salt/day which is higher than WHO recommended safe limit. The mean 24-hour salt intake was 8.7 g/day (S.D. 2.7). The proportion of high salt intake in hypertension patient, risk of hypertension and normal group were 82.5%, 90.9% and 90.3%, respectively. The overall mean sodium in their food was 8.7 482.81 Milligram/day (SD 165.56) and in hypertension patient, risk of hypertension and normal group were 503.55, 486.53 and 486.53, respectively. The knowledge about the danger of salt and how to avoid salty food had significant association with high salt consumption. The person with low level of knowledge consumed high salty 97.3%, more than the group of high knowledge for 8.28 times. (Adjusted OR 8.28, 95% CI 1.80-38.17). Discussion and conclusion: The less people notice, the saltier their diet; it can cause CVD. Informing the community about their 24-hour salt intake and innovative strategies are required to prevent people from eating a salty diet. Keyword: Sodium, salty diet, hypertension, cardiovascular diseases CVD

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

795 25 พ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่