
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การพัฒนาพอลิเมอร์เบลนด์ฟิล์มจากกล้วยและบุก เพื่อประยุกต์ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์เครื่องปรุงรสของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนดาษ์ รัชเวทย์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
632-59-SCI-NRCT
บทคัดย่อ
จากการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาฟิล์มจากวัสดุธรรมชาติเพื่อประยุกต์ใช้เป็น บรรจุ ภัณฑ์เครื่องปรุงรสของบะหมี่กึ่งส าเร็จรูป โดยน าวัสดุที่ได้จากธรรมชาติ คือ กล้วยและหัวบุก มาใช้เป็น วัตถุดิบในการขึ้นรูปฟิล์ม ท าการหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการขึ้นรูปฟิล์มทั้งหมด 27 สูตร คือ ฟิล์ม แป้งกล้วย 9 สูตร, ฟิล์มแป้งกล้วยผสมผงบุก 0.5% W/W 9 สูตร และฟิล์มแป้งกล้วยผสมผงบุก 1.0% W/W 9 สูตร แล้วท าการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลและกายภาพของฟิล์มสูตรต่าง ๆ จากการวิจัยพบว่า เมื่อท าการทดลองหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการขึ้นรูปฟิล์ม พบว่า ฟิล์มที่ได้จากสูตรต่าง ๆ มี คุณสมบัติที่แตกต่างกันไปตามส่วนผสมของฟิล์ม และเมื่อท าการคัดเลือกฟิล์ม สูตรที่มีคุณสมบัติตรง ตามข้อก าหนดในการน าไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ด้านการบรรจุภัณฑ์ 2 สูตร โดยเลือกฟิล์มแป้งกล้วย 1 สูตร และฟิล์มแป้งกล้วยผสมผงบุกอีก 1 สูตร พบว่าฟิล์มสูตร B4Gly20 และสูตร K05/4Gly20 มีความ เหมาะสมมากที่สุด เพราะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับข้อก าหนด เช่น มี ความหนาและการ ต้านทานการซึมผ่านของน้ าไม่แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05% มีค่าการต้านทานแรงดึงสูง คือ 4.015 และ 5.172 N/mm2 ความยืดหยุ่นร้อยละ 27.67 และ 22.22 อัตราการซึมผ่านของไอน้ าเท่ากับ 0.0063 และ 0.0021 g/hr.cm2 ตามล าดับ ทนต่อสารละลายกรดได้ดี และสามารถขึ้นรูปเป็นซอง บรรจุภัณฑ์ได้แข็งแรง เป็นต้น เมื่อน าฟิล์มทั้ง 2 สูตรนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์เครื่องปรุงรสของ บะหมี่กึ่งส าเร็จรูป พบว่า ฟิล์มทั้ง 2 สูตรไม่สามารถป้องกันความชื้นในอากาศได้ ฟิล์มสูตร B4Gly20 สามารถป้องกันการรั่วซึมของน้ ามันได้ดี และจากการทดสอบค่าเปอร์ออกไซด์ของน้ ามันเครื่องปรุงที่ บรรจุในซองบรรจุภัณฑ์ที่ได้จากฟิล์มสูตร B4Gly20 มีค่าน้อยกว่าฟิล์มสูตร K05/4Gly20 จึงแสดงได้ว่า ฟิล์มสูตร B4Gly20 สามารถต้านทานการซึมผ่านของออกซิเจนเข้าไปยังน้ ามันเครื่องปรุงได้ดีกว่าฟิล์ม สูตร K05/4Gly20 แต่ฟิล์มสูตร B4Gly20 สามารถละลายในน้ าร้อนอุณหภูมิ 100 ? 10 ?C ได้ช้ากว่า ฟิล์มสูตร K05/4Gly20 ค่อนข้างมาก จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ฟิล์มสูตร B4Gly20 มีความ เหมาะสมที่จะน ามาประยุกต์ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์เครื่องปรุงรสของบะหมี่ กึ่งส าเร็จรูปได้มากที่สุด
Abstract
This research aimed to develop a natural film for using as the seasoning packaging of instant noodle. Natural materials, banana and konjac, were used to cast as the film forming. There were 27 formula ratios comprised of 9 formulas from banana powder, 9 formulas of 0.5% w/w of banana powder mixed with konjac and 9 formulas of 1 % w/w of banana powder mixed with konjac. The 2 optimum formulas in casting films were the film prepared from banana powder in the ratio of B4Gly20 and film prepared from 0.5 % w/w of banana powder mixed with konjac powder, K05/4Gly20. After the 2 films formulas chosen which prepared and had properties as the standard qualities, for example, the films had the high tensile strength value of 4.015 and 5.172 N/mm2 ; the elasticity percent were 26.67 and 22.22 ; the vapour transmission value were 0.0063 and 0.0021 g/hr.cm3 respectively. All films prepared could stand well in acid solution and could be casting into the seasoning packaging of instant noodle. IT was found that they could not stand to the humidity in the open air. The film with the ratio B4Gly20 protected the oil leakage from the film in the good level. For the peroxide testing of oil in the film packaging from film formula, it was found that B4Gly20 had peroxide value less than oil in the film packaging from film formulas K05/4Gly20, that mean the film with formulas B4Gly20 had the ability in resisting of oxygen transmission into the oil in the packaging better than film with formula K05/4Gly20. In the other hand, the film with formula B4Gly20 had higher stability in hot water (100 ? 10 ? C) more than film with formula K05/4Gly20. From these findings, the film formula B4Gly20 had an efficiency to be an seasoning packaging of in instant noodle.
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา325 29 มี.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445