ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากไม้ไผ่เพื่อพัฒนาชุมชนกลุ่มหัตถกรรมไม้ไผ่ของจังหวัดเชียงใหม่


อาจารย์ไชยเชิด ไชยนันท์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

655-59-SCI-NRCT

บทคัดย่อ

แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากไม้ไผ่เพื่อพัฒนาชุมชนกลุ่มหัตถกรรมไม้ไผ่ของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากไม้ไผ่ขดในรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินผลประสิทธิ์ภาพของเฟอร์นิเจอร์จากไม้ไผ่ขดและเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชนในด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์ในด้านการออกแบบ ประชากรได้แก่ ผู้ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไม้ไผ่ขด ในชุมชนป่าบง และชุมชนท่าศาลา ที่มีความเชี่ยวชาญ จานวน 3 คน และเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จานวน 73 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จานวน 3 คน และประชากรในเขตชุมชน จานวน 70 คน การวิเคราะห์การวิเคราะห์การออกแบบเฟอร์นิเจอร์จากไม้ไผ่ขดจากการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญด้านการผลิตและจาหน่ายไม้ไผ่ขด ชุมชนบ้านป่าบงและชุมชนท่าศาลา ผู้วิจัยลงพื้นที่และศึกษาการผลิตไม้ไผ่ขด และผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่ขดของชุมชนป่าบง และชุมชนท่าศาลา ด้วยตัวของผู้วิจัยเอง ซึ่งผู้วิจัยได้ศึกษากระบวนการผลิตไม้ไผ่ขดและได้นามาออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์ไม้ไผ่ขดจานวน 6 แบบ เพื่อให้ผู้เชียวชาญคัดเลือกรูปแบบที่มีความน่าสนใจและสามารถผลิตได้ การแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากไม้ไผ่เพื่อพัฒนาชุมชน กลุ่มหัตถกรรมไม้ไผ่ของจังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษาจากแบบสอบถาม พบว่าค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของเฟอร์นิเจอร์รูปแบบที่ 1และการใช้งานจากประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้รับการพัฒนาแล้ว เฟอร์นิเจอร์รูปแบบที่ 2 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ ดี (x =4.02 ) พบว่าค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของเฟอร์นิเจอร์รูปแบบที่ 6 และการใช้งานจากประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้รับการพัฒนาแล้ว เฟอร์นิเจอร์รูปแบบที่ 6 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ ดี (x =4.13 ) และพบว่าค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ เฟอร์นิเจอร์รูปแบบที่ 3และการใช้งานจากประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้รับการพัฒนาแล้ว เฟอร์นิเจอร์รูปแบบที่ 3มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ ดี (x =4.02 )

Abstract

This research aimed to 1) develop the form of coiled bamboo handicraft products 2) test the quality of the developed coiled bamboo furnitures and 3) pass on knowledge about product designs to the community. The research populations were three coiled bamboo experts who play the producers and sellers role in Pabong community and Thasala community. The purposive sample group were 73 people, including three product design experts and 70 people from the communities. The analysis from this research about coiled bamboo furniture design came from three interviewees; the three selected coiled bamboo experts in Pabong and Thasala communities. From having field trip in both research areas, the researcher had opportunity to study about the process of making coiled bamboo products and came up with six forms of coiled bamboo furniture design. All developed coiled bamboo product designs had been shown to the experts and selected on their own interesting and production possibility. The data from research questionnaire presented the average and standard deviation about the utility from using the selected developed furnitures. The result shown that the 2nd, 3rd , and 6th furniture designs had the average score in good level which were 4.02, 4.02 and 4.13 from 5 marks, respectively.

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

371 09 เม.ย. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่