
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาชุดการสอนแบบสะเต็มสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง
อาจารย์จุฑามาศ หนุนชาติ
คณะครุศาสตร์
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
658-59-SCI-NRCT
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง ผลการใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบ สะเต็มศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ในภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องการทำอิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้ การสอนแบบสะเต็มศึกษา และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านป่าเหมือด ที่มีต่อเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา กลุ่มสาระ การเรียนรู้การวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านป่าเหมือด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา จำนวน 5 เล่ม แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้เอกสารประกอบการเรียน จำนวน 7 แผน รวม 12 ชั่วโมง แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา การนำเสนอข้อมูลใช้ตารางประกอบคำบรรยาย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย () ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และการหาประสิทธิภาพ E1,E2 ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบ สะเต็มศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทั้ง 5 เล่ม โดยรวมมีค่าเท่ากับ 83.42/ 85.33 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การวิทยาศาสตร์ โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 35.00 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อิฐมอญ โดยใช้การสอนแบบสะเต็มศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การวิทยาศาสตร์ ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ( = 4.76 , = 0.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าทุกข้ออยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
Abstract
Results of the documentation to learn about the bricks, using teaching STEM fields. The purpose of this To study the scientific knowledge available on local knowledge. The story brick The teaching STEM fields. Group learning the basics and Technology. Grade 6 efficiency of 80/80 to compare student achievement before and after learning of students with documented learning about brick by teaching STEM fields. And to the satisfaction of students per class documentation about using brick teaching STEM fields. Grade 6 school at Bush House in a faint manner. On documentation to the brick using teaching STEM fields. Group learning the basics and Technology. Grade 6 population-based study. including students Grade 6 school at Bush House in a faint manner. Space Elementary Mai District second semester of the first year in 2016 with 10 instruments to study the document to the brick using teaching STEM fields of five books, lesson plans accompanying the document. learning of the plan includes seven 12-hour test achievement. And satisfaction of students per class documentation about using brick teaching STEM fields. Presentation of data tables with subtitles. The statistics used for data analysis.) IOC.) the standard deviation (The percentage average ( (IOC) for the effective E1/ E2 The study indicated that 1. Performance of the documentation to learn about the bricks, using teaching STEM fields. Group learning the basics and Technology. Grade 6, the overall volume is equal to 83.42/ 85.33, higher than the threshold 80/80. 2. achievement before and after learning of the students. Grade 6 before and after learning about the class documentation brick by teaching STEM fields. Group learning the basics and Technology. The average score was higher than the previous 35.00 percent. 3. The results of the satisfaction of students per class documentation about using brick teaching STEM fields. Group learning the basics and Technology. The overall average is the most satisfied (= 4.76, = 0.46) when considering that they all have the most satisfied
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา322 09 เม.ย. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445