
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสภาพสังคมอย่างมีส่วนร่วม โดยอาศัยพื้นฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวัฒน์ โสมดี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
672-59-HUSO-NRCT
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสภาพสังคมอย่างมีส่วนร่วม โดยอาศัยพื้นฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของอาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ประชากร ได้แก่ ผู้ประกอบการงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา (5 คน/กลุ่ม) ผู้นาชุมชน หน่วยงานราชการในท้องถิ่น (5 คน) สถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/นักเรียน (4 คน/46คน) ประชาชนทั่วไป และผู้มีส่วนส่วนเสีย ได้แก่ ศิลปิน ครูภูมิปัญญา พระภิกษุ (10 คน) รวมทั้งสิ้นจานวน 70 โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า หลังจากดาเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความต้องการของชุมชน เพื่อนาไปสู่การดาเนินงานวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการในท้องถิ่น โดยวิธีการวิเคราะห์สภาพของชุมชน (SWOT Analysis) เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดด้อย โอกาสและอุปสรรค ที่เกิดขึ้นกับทั้งภายในและภายนอกชุมชน เพื่อนาไปวิเคราะห์และหากระบวนการพัฒนาหรือแก้ไขกับปัญหาส่งผลให้เกิดผลผลิต (Output) จากกระบวนการวิจัย ดังนี้ (1) ชุมชนมีการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม ด้านต่าง ๆ ของอาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (2) ชุมชนมีหลักสูตรท้องถิ่นงานประติมากรรมและเครื่องปั้นดินเผา ของศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (3) ชุมชนสามารถการจัดการศูนย์การเรียนรู้เชิงคุณธรรมแบบองค์รวม ประจาตาบลสันผักหวาน อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (4) ผู้ประกอบการงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ มีศักยภาพสู่โครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และ (5) กระบวนการผลิตงานประติมากรรมดินเผาหมู่บ้านป่าตาล อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ที่ตอบสนองการผลิตแบบจานวนมาก หรือ หัตถอุตสาหกรรม จากนั้นได้ดาเนินการวัดผลความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสภาพสังคมอย่างมีส่วนร่วม โดยอาศัยพื้นฐานความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของอาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในการดาเนินกระบวนการวิจัยในภาพรวม ในระดับสูง และความพึงพอใจในระยะเวลา สถานที่ กระบวนการ อยู่ในระดับสูงเช่นกัน
Abstract
The purpose of this study aims to (1) Quality of Life and Social Conditions by Participation Action Research from Knowledge of local Culture in Hangdong District Chiangmai Province research from sample in 4 groups; with 70 samples in Hang Dong District, They were selected by use Purposive Sampling Method. The questionnaire was used as a tool to collect data. There are also analysis of the results by descriptive. After the exchange of ideas activity by focus group methods for respond a needs of the community; to conduct research to meet local needs. An analysis of community status by SWOT Analysis. To analyze and find the development process. The results showed that 1 The community manages the various cultural heritage of Hang Dong. Chiangmai Province. 2 Community has local courses; sculptures and pottery in Sufficiency Economy Learning Center, Hang Dong, Chiang Mai. 3. The community can manage a holistic moral learning center, Hang Dong District, Chiang Mai Province. 4 Entrepreneur of pottery Handicraft, Hang Dong, Chiang Mai had a potential for Tambon One Project One product. 5 Production process of clay sculpture, Pa Tan village, Hang Dong district, Chiang Mai, which responds to mass production or craft industry. Measure satisfaction in quality of Life and Social Conditions by Participation Action Research from Knowledge of local Culture in Hangdong District Chiangmai Province. The research found that The sample was high satisfied with the overall research process. Satisfaction in time, place, process is also high.
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา411 25 พ.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900
0-2561-2445