
ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)
การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนรูปแบบสื่อมัลติมีเดียโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชน เพื่อสร้างการเรียนรู้ของเด็กช่วงชั้นประถมศึกษาตอนปลายสำหรับกลุ่มวิชาภาษาไทย กรณีศึกษา: โรงเรียนวัดประตูป่า จังหวัดลำพูน
อาจารย์กุสุมา สีดาเพ็ง
คณะวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ :
เลขทะเบียน :
740-59-MGT-CMRU
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจในเรื่องสำนวน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาถิ่นหรือแม้กระทั่งคำที่มาจากต่างประเทศรวมไปถึงคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง และสามารถช่วยพัฒนาสติปัญญา ความรู้ของเด็ก ให้เด็กเกิดความสนใจ การจดจำทางด้านภาษาได้มากขึ้น โดยนำซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่ได้ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ เนื่องจากปัจจุบันการดำเนินชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพนั้น จะมีการติดต่อสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องราว ความรู้สึก ความนึกคิด ความต้องการของแต่ละฝ่าย ซึ่งได้แก่ผู้ส่งสารหรือรับสารก็ตามเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้เป็นสะพานเชื่อมโยงเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันคือ ภาษา ผู้วิจัยได้ใช้โปรแกรมทางด้านมัลติมีเดียในการทำสื่อการเรียนการเรียนการสอนทั้งหมด ภาพเคลื่อนไหว แบบฝึกหัด เนื้อหาบทเรียน ผลการทดลองเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้จัดทำได้ตั้งเอาไว้ คือ สามารถนำสื่อการเรียนการสอนรูปแบบแอนิเมชั่น วิชาภาษาไทย สำหรับระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ไปใช้ได้กับผู้เรียนได้จริงในระดับพึงพอใจมากที่สุด
Abstract
This research has the objective for Development of Thai language instructional media for elementary school students to learn Understanding the idioms of spoken and written languages including poetry verse. Can help develop intelligence knowledge of children have children interested more language recognition. Bring the software used to benefit. Because of the current lifestyle and occupation. To communicate, to understand the feelings, ideas, needs of each party. The messenger or receiver is an important tool used as a bridge to achieve a common understanding of the language.The researcher used the multimedia program to study all the learning materials. Animation Exercises. The results of the experiment were in accordance with the objectives set by the organizers, they were able to use the Thai-language animation instructional media for elementary school. To be available to students at a good level
ไฟล์งานวิจัย
อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา271 13 มิ.ย. 2561

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000
053-88-5555