ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตน้ำตาลจากขยะกระดาษ


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หทัยทิพย์ สินธุยา

วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแห่งเอเชีย

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

749-59-ADIC-CMRU

บทคัดย่อ

โครงการวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตน้าตาลจากขยะกระดาษ โดยการย่อยสลายเซลลูโลสทางเคมีด้วยการใช้กรดซัลฟูริก และการใช้เอมไซม์เซลลูเลส ร่วมกับการใช้คลื่นอัลตร้าโซนิค น้ากระดาษมาปรับสภาพด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 N โดยใช้คลื่นอัลตร้าโซ นิคที่รอบการท้างาน 80% เป็นเวลา 70 นาที จากนั นได้ท้าการออกแบบการทดลองด้วยวิธีการพื นผิวตอบสนอง (Response surface methodology, RSM) ด้วยวิธี Central composite design (CCD) โดยก้าหนดให้การย่อยสลายด้วยกรดมีปัจจัยหลักที่ท้าการศึกษา คือ ปริมาณกระดาษ 2.00-5.00%wt/v ปริมาณกรดซัลฟูริก 5.00-15.00% v/v และเวลาที่ใช้ในการทดลอง 30.00-60.00 นาที ส่วนการย่อยสลายด้วยเอนไซม์ได้ท้าการศึกษาปัจจัยหลัก คือ ปริมาณกระดาษ 2.00-5.00% wt/v ปริมาณเอนไซม์เซลลูเลส 0.50-2.00% v/v และเวลาที่ใช้ในการย่อยสลาย 24.00-168.00 ชั่วโมง จากผลการทดลองการย่อยสลายกระดาษปริมาณ 3.50%wt/v ด้วยกรดซัลฟูริก 18.41% v/v เป็นเวลา 45.00 นาที พบว่ามีผลผลิตน้าตาลรีดิวซ์คิดเป็น 28.59% โดยประกอบด้วยน้าตาลกลูโคส และไซโลส 26.46% และ 2.14% ตามล้าดับ ส้าหรับผลการทดลองการย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลสนั นพบว่า ทุกการทดลองที่มีการใช้งานร่วมกับคลื่นอัลตร้าโซนิคจะมีผลผลิตน้าตาลรีดิวซ์มากกว่าการทดลองที่ไม่มีการใช้คลื่นอัลตร้าโซนิค การทดลองที่มีการใช้คลื่นอัลตร้าโซนิคนั นมีผลผลิตน้าตาลรีดิวซ์คิดเป็น 83.50% จากการย่อยสลายกระดาษ 2.00%wt/v ใช้ปริมาณเอนไซม์ 2.00%v/v ระยะเวลาในการทดลอง 60.00 ชั่วโมง โดยจะมีปริมาณน้าตาลกลูโคส และไซโลส 78.50% และ 5% ตามล้าดับ ในส่วนการทดลองที่ไม่มีการใช้งานร่วมกับคลื่นอัลตร้าโซนิคจะมีผลผลิตน้าตาลรีดิวซ์สูงสุดที่ 55% จากการใช้ปริมาณกระดาษ 2.00%wt/v ปริมาณเอนไซม์ 2.00%v/v ระยะเวลาในการทดลอง 60.00 ชั่วโมง โดยจะมีปริมาณน้าตาลกลูโคส และไซโลส 45.00% และ 5.00% ตามล้าดับ นอกจากนี ยังพบว่าจากการศึกษาปริมาณเข้มข้นของสารเฟอร์ฟูรัล ในเงื่อนไขการย่อยสลายกระดาษด้วยกรดซัลฟูริกจะมีปริมาณสารเฟอร์ฟูรัลสูงสุด 0.047 ppm จากการใช้ปริมาณกรดซัลฟูริกสูงสุด 18.41% โดยสามารถท้าให้เชื อยีสต์ S. Cerevisiae มีการเจริญเติบโตของสูงสุด 7.55 x1014 Cfu/ml ที่ระยะเวลา 24 ชั่วโมง และส้าหรับการย่อยสลายกระดาษด้วยเอนไซม์เซลลูเลสนั นไม่มีความร้อนเกิดขึ น ส่งผลให้ไม่มีปริมาณสารเฟอร์ฟูรัลเกิดขึ นด้วยเช่นกัน

Abstract

-

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

409 09 ต.ค. 2561

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000

http://www.cmru.ac.th

053-88-5555

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่