ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการบัญชีและการเงินโดยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มจัดการขยะ ตำบลริมเหนือ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่


อาจารย์กิรณา ยี่สุ่นแซม

คณะวิทยาการจัดการ

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

754-60-MGT-CMRU

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาบริบทของการทาเป็นกิจกรรมของกลุ่มจัดการขยะ ตาบลริมเหนือ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบบัญชีการเงินที่เหมาะสมของกลุ่มจัดการขยะ ตาบลริมเหนือ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อส่งเสริมระบบบัญชีและการเงินในระดับครัวเรือนของสมาชิกกลุ่มจัดการขยะ ตาบลริมเหนือ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดเกี่ยวกับระบบบัญชี การจัดทาบัญชี หลักการมีส่วนร่วม และแนวคิดตามหลักทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบบัญชีการเงินกลุ่มจัดการขยะ พร้อมทั้งใช้แนวคิดการจัดทาบัญชีครัวเรือนมาส่งเสริมทาให้ครัวเรือนของสมาชิกกลุ่มจัดการขยะ ส่งผลให้ระดับครัวเรือน มีการวางแผน การจัดการด้านการเงินได้อย่างเป็นระบบ และมีฐานะการเงินที่ดีขึ้นข้อมูลในการศึกษาได้จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การสังเกตการณ์ การอภิปรายกลุ่ม การสนทนากลุ่มย่อย การสัมภาษณ์เชิงลึก การถามด้วยแบบสอบถาม และการคบันทึกภาพ ตลอดจนการจัดกิจกรรมกลุ่มโดยมีสมาชิกกลุ่มจัดการขยะ ตาบลริมเหนือ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 5 หมู่บ้าน จานวน 120 คน และกลุ่มผู้ร่วมดาเนินการวิจัย ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของเทศบาลตาบลริมเหนือ จานวน 5 คน เป็นผู้ร่วมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและให้ข้อมูลตามสภาพการณ์ของชุมชนการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) มีการกาหนดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หลักโดยให้สมาชิกกลุ่มฯ มีส่วนร่วมให้มากที่สุดในการพัฒนาระบบบัญชีที่สอดคล้องกับชุมชน ซึ่งจะทาให้สมาชิกเกิดรู้สึกความเป็นส่วนหนึ่งของระบบบัญชีที่ตนเองได้พัฒนาขึ้นมาผลการศึกษาดังนี้ จากการศึกษาและวิเคราะห์สภาพการณ์ กลุ่มจัดการขยะ ตาบลริมเหนือ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งพบว่าทางกลุ่ม มีปัญหาหลายด้าน ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีความสาคัญต่อการพัฒนากลุ่มจัดการขยะ โดยเฉพาะปัญหาด้านบัญชีและการเงินของกลุ่ม เนื่องจากยังไม่มีการจัดทาระบบบัญชีที่เหมาะสม ซึ่งจะส่งผลทาให้การคานวณกาไรขาดทุนไม่ถูกต้อง จากการวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันระหว่างผู้วิจัยและสมาชิกกลุ่ม จึงได้กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาทางการบัญชี โดยเริ่มจากนักวิจัยดาเนินการออกแบบระบบบัญชีที่เหมาะสมกับผู้ทาบัญชีกลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย สมุดรายวันขั้นต้น ทะเบียนคุมทรัพย์สิน ทะเบียนรายรับ-รายจ่าย ทะเบียนเจ้าหนี้รายตัว ทะเบียนซื้อ-ขายขยะ และแบบฟอร์มงบกาไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน เพื่อใช้ในประเมินผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกลุ่มจัดการขยะ และได้จัดอบรมครั้งที่ 1 ซึ่งเป็นการอบรมให้ความรู้ด้านบัญชีให้แก่สมาชิมกลุ่ม จานวน 120 คน เกี่ยวกับระบบบัญชี ได้แก่ ความหมายของการบัญชี การรับรู้รายการรายได้และรายจ่าย การบันทึกบัญชี การจัดทางบการเงิน และประโยชน์ของการจัดทาบัญชี เพื่อให้สมาชิกกลุ่มได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดทาบัญชี โดยได้มีการประเมินผลก่อนและหลังการอบรมโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งจาก การประเมินความรู้หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมให้ความรู้ ซึ่งการประเมินความรู้ก่อนการอบรม ค่าคะแนนความรู้ความเข้าใจ เท่ากับ 32.40 และการประเมินความรู้หลังการอบรม ค่าคะแนนความรู้ความเข้าใจ เท่ากับ 45.60 ดังนั้นสรุปได้ว่า ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจทางด้านบัญชีและการเงินเพิ่มสูงขึ้น เท่ากับ 13.20 และจัดให้มีการอบรมครั้งที่ 2 เป็นการฝึกปฏิบัติจริงเป็นระยะเวลา 6 เดือน สาหรับผู้ทาบัญชีกลุ่ม จานวน 5 กลุ่ม โดยได้มีการตรวจสอบผลการบันทึกบัญชีและการจัดทางบการเงิน เพื่อประเมินความถูกต้องครบถ้วน ซึ่งจากการประเมินผล ผู้ทาบัญชีกลุ่มสามารถบันทึกบัญชีและจัดทางบการเงินได้อย่างถูกต้อง โดยมีคะแนนเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 71 นอกจากนี้ เมื่อกลุ่มสามารถสรุปผลการดาเนินงานที่ชัดเจน และงตระหนักถึงความสาคัญของข้อมูลทางบัญชี จึงได้มีการจัดหมวดหมู่ลาดับความสาคัญของรายรับรายจ่าย ตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องของความพอประมาณและความมีเหตุผล ในการพิจารณาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถประมาณตนให้อยู่ในขอบเขตของความพอดี โดยไม่ใช้จ่ายฟุุมเฟือยเกินความจาเป็น และความมีเหตุผล ในการตัดสินใจดาเนินธุรกรรมโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และผลที่คาดว่าจะได้รับอย่างรอบคอบ ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็นลงได้ถึงร้อยละ 24.16 อีกทั้งกลุ่มยังมีรายรับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 30.76 เมื่อเทียบกับยอดเริ่มต้นก่อนการเข้าร่วมโครงการ หากกลุ่มจัดให้มีการบันทึกบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง สถานะทางเศรษฐกิจของกลุ่มจัดการขยะก็จะมีความมั่นคงอย่างยั่งยืนสาหรับสมาชิกกลุ่มจัดการขยะ ผู้จัดทาบัญชีครัวเรือนมีระดับเงินออมเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากผู้จัดทาบัญชีครัวเรือนมีองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด้านการเงินในระดับครัวเรือนที่เพิ่มสูงขึ้น อันได้แก่ สามารถใช้วางแผนการเงินครัวเรือนได้ สามารถจัดหมวดหมู่ลาดับความสาคัญของรายรับรายจ่าย ซึ่งสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นลงได้ส่งผลทาให้มีแนวทางในการเพิ่มเงินออมได้ ตลอดจนมีแนวทางบริหารจัดการหนี้สินอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Abstract

This research comprises of three main objectives: 1) to study the context of the Waste Management activities in Rim Neu district, Maerim, Chiang Mai province, 2) to improve and develop a proper accounting system of the waste management group, and 3) to promote accounting and financial systems at the household level for the members of the waste management group.The researcher uses the concept of accounting system, principles of accounting, participation theory, and the sufficiency economy theory. These concepts are used to study, solve the problems, and develop the financial accounting systems of the waste management group. In addition, the concept of household accountancy is utilized in order to promote by the household members of the waste management group. As a result, the household level has a financial and management plan leading to a better financial status.Data gathered from primary sources such as observation, focus group discussion, small group discussion, in-depth interview, survey, and photographs along with the group activities by the waste management group in Rim Neu district, Maerim, Chiang Mai including five villages at a number of 120 villagers. This activity is carried out by the research teams consisting of five governmentalฉofficers of Rim Neu district who involved in the participatory process and information providing based on the community context.This is a participatory action research (PAR) where the activities are identified so that to accomplish the research objectives of having eight activities. The researchers allow the group members to participate in most of the activities so they know how to develop the suitable accounting system for the community. This research technique also allow the group members the feeling of involvement and belongingness of the accounting system they develop.The research findings from studying and analyzing the context of the waste management group showed there were several problems. These problems influenced the development of waste management group, especially in accounting and financial dimensions. The cause of problems is that the group does not have proper accounting systems, which leads to the incorrect profit and loss account. The research teams and participants were brainstormed and proposed the several solutions. For instance, firstly, the researchers designed a proper accounting system for the accountant group. This comprises of book of original entry, control of property, register receipts – expenses, a list of individual creditor, buy-sell waste statements, profit-loss forms, and financial statements. All of these were used to assess and operations and financial position of the waste management group. Besides, the training workshop about the accounting system is provided for the 120 group members. The basic knowledge about the accounting system embraces the definition of accounting, the recognition of revenues and expenses, the financial statements, and benefits of accounting. The training aims to provide the groups with the importance of accounting by having pre-test and post-test questionnaires. The data of understanding accounting from pre-test was at 32.40 where the post-test was at 45.60. This means that the research participants had a better understanding and knowledge about accounting with the increased scores at 13.20.

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

936 08 ส.ค. 2562

กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 503000

http://www.cmru.ac.th

053-88-5555

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่