ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การกระจายตัวของสาหร่ายน้ำจืดในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แรม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงษ์พันธุ์ ลีฬหเกรียงไกร

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เลขทะเบียน :

1092-62-SCI-NRCT

บทคัดย่อ

จากการศึกษาการกระจายตัวของสาหร่ายน้้าจืดในพื้นที่ลุ่มน้้าแม่แรม อ้าเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ ในเดือนมิถุนายนและตุลาคม 2562 โดยท้าการเก็บตัวอย่างไดอะตอมพื้นท้องน้้าและ สาหร่ายขนาดใหญ่จ้านวน 9 จุดเก็บตัวอย่าง พบไดอะตอมพื้นท้องน้้าทั้งหมด 111 ชนิด ในเดือน มิถุนายนพบมากที่สุดโดยพบทั้งหมด 92 ชนิด และตุลาคมพบน้อยที่สุดโดยพบทั้งหมด 86 ชนิด โดย พบชนิดเด่นได้แก่ Eolimna minima, Nitzschia sp.1, Achnanthes pusilla, Gomphonema lagenula และ Nitzschia palea ตามล้าดับ โดยเฉพาะ Eolimna minima และ Nitzschia sp.1 พบเป็นชนิดเด่นในทุกๆจุดเก็บตัวอย่างซึ่งบ่งชี้ว่าเป็นชนิดที่มีความทนทานสูง สาหร่ายขนาดใหญ่ พบ ทั้งหมด 14 ชนิด โดยจัดอยู่ใน 4 ดิวิชัน โดยพบสาหร่ายสีเขียว (Division Chlorophyta) มากที่สุด โดยพบถึง 7 ชนิด รองลงมาได้แก่ สาหร่ายสีแดง (Division Rhodophyta) 3 ชนิด, สาหร่ายสีเขียว แกมน้้าเงิน (Division Cyanophyta) 2 ชนิดและสาหร่ายไฟ (Division Charophyta) 2 ชนิด ตามล้าดับ นอกจากนั้นในเดือนตุลาคมและจุดเก็บตัวอย่างบริเวณต้นน้้าพบสาหร่ายขนาดใหญ่มากกว่า มิถุนายนและจุดเก็บตัวอย่างปลายน้้า โดยเฉพาะในจุดเก็บตัวอย่างที่ 7 ถึง 9 พบสาหร่ายขนาดใหญ่ เพียงสกุลเดียวได้แก่ Compsopogon spp.

Abstract

The distribution of freshwater algae in Mae Ram Basin Mae Rim District, Chiang Mai Province were investigated during June and October 2019. Benthic diatoms and macroalgae were collected from 9 sampling sites. A total of 111 species benthic diatoms were found. The highest abundance was found during June (88 species) and the lowest abundance (83 species) during October. The most abundant species were Eolimna minima, Nitzschia sp.1, Achnanthes pusilla, Gomphonema lagenula and Nitzschia palea, respectively. Especially, Eolimna minima and Nitzschia sp.1 were dominant found in every sampling site which was indicated tolerance species. A total of 14 species macroalgae were found and classified into 4 Division. Most of them were classified in the Division Chlorophyta (7 species), followed by the Division Rhodophyta (3 species) and Division Cyanophyta and Charophyta (2 species). Moreover, species number from October and upstream were generally higher than June and downstream especially, at sites 7 to 9 were found only one genus such as Compsopogon spp. 

ไฟล์งานวิจัย

1 ปก.pdf

2 กิตติกรรมประกาศ.pdf

3 บทคัดย่อ.pdf

4 สารบัญ.pdf

5 สารบัญตาราง.pdf

6 สารบัญภาพประกอบ.pdf

7 บทนำ 1.pdf

8 บทที่ 2.pdf

9 บทที่ 3.pdf

10 บทที่ 4.pdf

11 บทที่ 5.pdf

12 เอกสารอ้างอิง.pdf

Finished ลายน้ำ.pdf

ข้อมูลการตีพิมพ์

ชื่อบทความ :

แหล่งที่ตีพิมพ์ :Journal of Applied Biological Sciences E-ISSN: 2146-0108 16(3): 471-482, 2022 DOI: 10.5281/zenodo.7114129

ปีที่ตีพิมพ์ :2565

140 14 ม.ค. 2562

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่