ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

การเพิ่มประสิทธิภาพตรวจวัดไอออนโลหะหนักโดยใช้วัสดุดัดแปรด้วยรีเอเจนต์จากธรรมชาติ


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา เขาดี

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญ :

เลขทะเบียน :

542-58-SCI-NRCT

บทคัดย่อ

งานวิจยันี ้ไดศ้ึกษาการเพิ ่มประสิทธิภาพในการตรวจวดัไอออนโลหะในนํ ้าทั ้งเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ การตรวจวดัใชก้ารตรวจวดัดว้ยตาเปล ่าโดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงสีของ AXAD7Cy ซ่ึงเตรียมได้จากการดดัแปร Amberlite XAD-7 ดว้ยไซยานิดิน (Cyanidin) ที่สกัดจาก กะหล่าํปลีสีม่วง แลว้บรรจุในคอลมัน์ขนาดเล็ก จากการทดลองพบว่า ไอออนที่สามารถตรวจวดัได้ คือ ไอออนทองแดง (Cu2+) ไอออนตะกั่ว (Pb2+) และไอออนอะลูมิเนียม (Al3+) ได้อย่างชัดเจน ภายใตส้ารละลายบพัเฟอร์ พีเอช 7, 6 และ 5 ตามลาํดบั โดยเมื่อนาํนํ ้าตวัอย่างและสารละลาย บฟัเฟอร์ (0.01 M) ไหลผ่านคอลมัน์ของ AXAD-7Cy (10 มิลลิกรัม) ดว้ยอตัราการไหล 0.5 มิลลิลิตร/นาที เป็นเวลา 20 นาที สามารถตรวจวดั Cu2+, Pb2+ และ Al3+ ในนํ ้าได้ระดบัความเขม้ ต่าํสุดที่ 4, 30 และ 5 ไมโครโมลาร์ ตามลาํดบั เมื่อนาํวธิีนี้ตรวจวดัไอออนโลหะทั ้ง 3 ในนํ ้าตวัอย่าง เทียบความถูกตอ้งกับเทคนิค ICP พบว่าค ่าความเขม้ขน้ที่ไดจ้ากทั ้ง 2 วิธี มีความสอดคลอ้งกัน วิธีการที่พฒันาขึ ้นสามารถทําการตรวจสอบนอกสถานที่ได้ ซ่ึงมีความง ่าย สะดวก รวดเร็ว ปลอดภยั ในการใช้งาน ใชส้ารทุกตวัในปริมาณนอ้ย โดยเฉพาะ Cu2+ ที่สามารถถูกตรวจวดัไดใ้น ระดบัต่าํกว่ามาตรฐานที่กําหนดในนํ ้าดื่ม

Abstract

-

ไฟล์งานวิจัย

อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเนื้อหา

276 23 ส.ค. 2561

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

196 Paholyotin Rd., Chatuchak, Bangkok 10900

http://nrct.go.th/

0-2561-2445

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่