ระบบสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Research Information System(RIS)

คำสำคัญ :ชาติพันธุ์

1

การพัฒนารูปแบบการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ โดยชุมชนมี ส่วนร่วมในการสร้างมัคคุเทศก์บนพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า : กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ชุมชนบ้านหลักแต่ง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :พิชญพรพรรณ ศรีมูลเรือง

งบประมาณ :27,000

แหล่งทุน :กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ : 2566

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :การพัฒนารูปแบบ การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ ชุมชนมีส่วนร่วม การสร้างมัคคุเทศก์ พื้นที่ชายแดนไทย-พม่า Model development Use of language for communication Ethnic tourism Community participation Guide development Thai-Burmese border area -

2

กลยุทธ์สื่อเทคโนโลยีสร้างสรรค์ “หัวใจกตัญญู” เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคมชนบทจังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :ชวลิต ขอดศิริ

งบประมาณ :240,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2565

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :กลยุทธ์สื่อเทคโนโลยีสร้างสรรค์ หัวใจกตัญญู ผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์ Strategic of Creative Technology Media Filial Heart Elderly Ethnic Groups -

3

การเพิ่มศักยภาพทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอด้วยเทคโนโลยีตลาดดิจิทัลของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :บุษราภรณ์ มหัทธนชัย

งบประมาณ :220,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2565

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :ตลาดดิจิทัล ตลาดออนไลน์ ผ้าทอ ชาติพันธุ์ แม่ริม Digital Marketing Online Marketing Woven Fabric Ethnic Mae Rim -

4

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อจัดการองค์ความรู้สายการผลิต สำหรับผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :จิตราภรณ์ ธาราพิทักษ์วงศ์

งบประมาณ :220,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2565

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :เทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรม องค์ความรู้ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ Information Technology Innovation Knowledge Community Enterprise Ethnic Group -

5

ชุดโครงการ การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :ชนินทร์ มหัทธนชัย

งบประมาณ :0

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2565

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :ผ้าทอ กัญชง วิสาหกิจชุมชน ชาติพันธุ์ แม่ริม Woven Fabric Hemp Community Enterprise Ethnic Mae Rim -

6

Characterizing The Design And Economics Components of Jew Ellery Industry into Design omics Model.

นักวิจัย :จารุวรรณ เพ็งศิริ

งบประมาณ :75,000

แหล่งทุน :กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ : 2564

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เครื่องประดับเงิน ชาติพันธุ์ม้ง Local Product Jewellery Indigenous Community -

7

การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังทางสังคมที่มีผลต่อวิถีชีวิตพอเพียงของกลุ่มชาติพันธุ์: กรณีศึกษาชนเผ่าลีซู ในเขตอำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่

นักวิจัย :พิชญพรพรรณ ศรีมูลเรือง

งบประมาณ :100,000

แหล่งทุน :กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีงบประมาณ : 2564

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :การพัฒนารูปแบบ การเสริมสร้างพลังทางสังคม ต่อวิถีชีวิตพอเพียง กลุ่มชาติพันธุ์ ชนเผ่าลีซู -

8

การสืบทอดอัตลักษณ์ วิถีชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชนท่องเที่ยว กลุ่มชาติพันธ์ลาหู่ดำ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

นักวิจัย :ทับทิม เป็งมล

งบประมาณ :450,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2564

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต การสืบทอดวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ดำ พื้นที่การท่องเที่ยวโดยชุมชน cultural identity way of life Cultural inheritance Black Lahu ethnic group Community tourism area -

9

การพัฒนาฐานข้อมูลการใช้สมุนไพรของกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

นักวิจัย :อนาวิน ภัทรภาคินวรกุล

งบประมาณ :500,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2564

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :สมุนไพร กลุ่มชาติพันธุ์ แม่ฮ่องสอน ฐานข้อมูล ปัจจัยทำนาย herbs ethnic groups Mae Hong Son database predictive factors -

10

รูปแบบการพัฒนาโฮมสเตย์ของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงในจังหวัด แม่ฮ่องสอน สู่มาตรฐานโฮม สเตย์ไทย

นักวิจัย :สิริลักษณ์ กัลยา

งบประมาณ :550,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2564

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :รูปแบบ โฮมสเตย์กลุ่มชาติพันธุ์ มาตรฐานโฮมสเตย์ Model Ethnic homestay Standard homestay -

11

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ละว้าด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างเสริม การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน

นักวิจัย :ชุติมันต์ สะสอง

งบประมาณ :390,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :ผลิตภัณฑ์ชุมชน ชาติพันธุ์ละว้า นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แม่ฮ่องสอน Community Products Lawa Ethnic Creative Innovation Enhance Sustainable Tourism Mae Hong Son. -

12

พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยั่งยืน

นักวิจัย :อิศรากร พัลวัล

งบประมาณ :400,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :กลุ่มชาติพันธุ์ ดนตรี มานุษยวิทยา มานุษยวิทยาดนตรี การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Ethnic Group Music Anthropology Ethnomusicology Cultural Tourism -

13

พัฒนาระบบยุติธรรมชุมชน เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยืน

นักวิจัย :พินิจนันท์ พรหมารัตน์

งบประมาณ :500,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :ยุติธรรมชุมชน กฎหมาย ชุมชน กลุ่มชาติพันธุ์ วิถีชีวิตอย่างยั่งยืน Community Justice Law Community Ethnic Group a Sustainable Way of Life -

14

จารีตประเพณีกฎหมายของกลุ่มชาติพันธุ์กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมเพื่อพัฒนาวิถีการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน

นักวิจัย :นิล พันธุ์คงชื่น

งบประมาณ :570,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :กฎหมายจารีตประเพณี ความเชื่อ ชาติพันธุ์ การเปลี่ยนแปลง สังคม customary law belief ethnic changes society -

15

พัฒนาการแพทย์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อยกระดับชุมชนอย่างยั่งยืน

นักวิจัย :ลัดดา ประสพสมบัติ

งบประมาณ :500,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :การแพทย์พื้นบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแพทย์ชาติพันธุ์ Ethnomedicine local knowledge Folk Medicine -

16

การบูรณาการเทคโนโลยีดิจิทัลด้านการตลาดสำหรับผู้สูงวัยกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน

นักวิจัย :บุษราภรณ์ มหัทธนชัย

งบประมาณ :400,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :เทคโนโลยีดิจิทัล ตลาดดิจิทัล ตลาดออนไลน์ ผู้สูงวัย ชาติพันธุ์ ภาคเหนือตอนบน -

17

ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลด้านสุขภาวะในการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้สูงวัยกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน

นักวิจัย :ชนินทร์ มหัทธนชัย

งบประมาณ :400,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลสุขเสริมสุขภาพตำบล กลุ่มชาติพันธุ์ -

18

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคมผู้สูงวัยกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน

นักวิจัย :พรรณี สุวัตถี

งบประมาณ :400,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :รูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต สังคมผู้สูงวัย กลุ่มชาติพันธุ์ -

19

การเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการสังคมของผู้สูงวัยกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน

นักวิจัย :นิมิต วุฒิอินทร์

งบประมาณ :400,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ : การเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการสังคม ผู้สูงวัย กลุ่มชาติพันธุ์ Access to the Rights and Social Welfare the Elderly Ethnic Group -

20

การยกระดับคุณภาพชีวิตสังคมผู้สูงวัยกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน

นักวิจัย :จักรปรุฬห์ วิชาอัครวิทย์

งบประมาณ :435,000

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปีงบประมาณ : 2563

สถานภาพ :ส่งเล่มแล้ว

คำสำคัญ :คุณภาพชีวิต สังคมผู้สูงวัยกลุ่มชาติพันธุ์ Life Quality Ethnic Elderly Society -

2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่